National Institute of Standards and Technology

By lew Founder on Tag: Quantum Cryptography, Cryptography, NIST
Quantum Cryptography

NIST ประกาศเลือกอัลกอริทึม HQC (Hamming Quasi-Cyclic) เข้าเป็นหนึ่งในอัลกอรึทึมมาตรฐานสำหรับกระบวนการเข้ารหัสลับที่ทนทานต่อคอมพิวเตอร์ควอนตัม หลังจากประกาศมาตรฐานชุดแรกไปเมื่อปีที่แล้ว

เหตุผลที่ NIST เลือก HQC เพราะพื้นฐานของอัลกอรึทึมใช้แนวทาง error-correction codes ที่ต่างจากแนวทาง stuctured lattices ของ ML-KEM ที่ผ่านการรับรองไปก่อนหน้านี้ ทำให้ HQC เป็นตัวเลือกที่ดีที่จะใช้สำรองในกรณีที่ ML-KEM ถูกแฮกได้ในอนาคต

HQC มีขนาดกุญแจยาวกว่า ML-KEM และกินทรัพยากรประมวลผลสูงกว่า จึงแนะนำเป็นแนวทางสำรอง

By arjin Writer on Tag: NIST, Password, Authentication
NIST

NIST เผยแพร่แนวทางสำหรับความปลอดภัยของรหัสผ่าน (Password) ซึ่งระบุในเอกสาร 800-63B ภาพรวมนั้นคล้ายกับแนวทางที่เคยระบุในเอกสารฉบับก่อนหน้า แต่มีการเปลี่ยนแปลงบางหัวข้อ ซึ่งหลายคนอาจคุ้นเคยว่าเป็นแนวทางตั้งรหัสผ่านที่ปลอดภัย แต่ NIST เปลี่ยนคำแนะนำแล้ว

โดยหัวข้อหนึ่ง NIST บอกว่า __ต้องไม่__กำหนดให้ตั้งรหัสผ่านที่ซับซ้อน ซึ่งมีทั้งอักษรตัวเล็ก-ตัวใหญ่ ตัวเลข และอักขระพิเศษ (Shall Not) แต่__ต้อง__กำหนดให้รหัสผ่านยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร (Shall) และ__แนะนำ__ให้กำหนดอย่างน้อย 15 ตัวอักษร (Should) ซึ่งนักวิจัยของ NIST ให้ข้อมูลว่า รหัสผ่านที่ยาวกว่านั้นปลอดภัยกว่า และดีกว่าการไปกำหนดให้ตั้งรหัสผสมอักขระ

By lew Founder on Tag: NIST, Authentication
NIST

NIST เปิดรับความเห็นร่างเอกสาร NIST SP-800-63B มาตรฐานการยืนยันตัวตนที่เคยอัพเดตไปเมื่อปี 2017 โดยรอบนี้มีจุดสำคัญคือการเพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยของ Passkey ที่ใช้ล็อกอินโดยไม่ต้องการรหัสผ่าน และยังสามารถซิงก์ข้ามอุปกรณ์ได้

By lew Founder on Tag: NIST, Cryptography
NIST

NIST ประกาศมาตรฐานการเข้ารหัสที่ทนทานต่อคอมพิวเตอร์ควอนตัม (post-quantum cryptography - PQC) ชุดแรก 3 อัลกอริทึม จาก 4 อัลกอริทึมที่ผ่านมาการคัดเลือกตั้งแต่ปี 2022 โดยตัวที่ 4 คือ Falcon จะตามมาในปลายปีนี้ ตอนนี้ทั้งสามอัลกอริทึม ได้แก่

By lew Founder on Tag: NIST, Medical, Mobile
NIST

ทีมวิจัยของ NIST หน่วยงานออกมาตรฐานอุตสาหกรรมสหรัฐฯ รายงานถึงการพัฒนาเซ็นเซอร์กลูโคสโดยอาศัยการดัดแปลงจากเซ็นเซอร์แม่เหล็กที่มีในโทรศัพท์สมัยใหม่แทบทุกเครื่องอยู่แล้ว

กระบวนการวัดระดับน้ำตาลจริงๆ จะอาศัยแผ่นไฮโดรเจลที่ยืดหรือหดลงเมื่อระดับน้ำตาลในตัวอย่างที่นำมาทดสอบต่างกันไป ที่ปลายแผ่นไฮโดรเจลติดสารแม่เหล็กเอาไว้ทำให้ระดับสนามแม่เหล็กเปลี่ยนไป และนำมาแปลงค่าแสดงในโทรศัพท์มือถือด้วยเซ็นเซอร์เข็มทิศอีกที

By lew Founder on Tag: NIST, Security
NIST

NIST ออกชุดเอกสาร NIST’s cybersecurity framework (CSF) เวอร์ชั่น 2.0 สำหรับการวางโครงสร้างองค์กรให้พร้อมรับมือภัยไซเบอร์ หลังจากออกเวอร์ชั่น 1.0 มาตั้งแต่ปี 2014 ตามคำสั่งฝ่ายบริหารของรัฐบาลโอบามา โดยรอบนี้พยายามทำเอกสารให้ครอบคลุมองค์กรทุกประเภท และทุกระดับความเสี่ยงภัยไซเบอร์

By lew Founder on Tag: NIST, Artificial Intelligence
NIST

NIST องค์การมาตรฐานอุตสาหกรรมสหรัฐฯ ออกเอกสารรวบรวมภัยจากการโจมตี machine learning และแนวทางเพื่อลดความเสี่ยงลง พร้อมกับเตือนว่าตอนนี้ยังไม่มีทางใดที่ป้องกันการโจมตีได้ทั้งหมด และนักพัฒนาควรระมัดระวัง

เอกสาร NIST AI 100-2e2023 ไม่ใช่มาตรฐานอุตสาหกรรมแต่เป็นการรวบรวมการโจมตีรูปแบบต่างๆ และแนวทางการลดความเสี่ยงเท่านั้น โดยเอกสารจัดรูปแบบการโจมตี 4 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่

By lew Founder on Tag: Cryptography, NIST
Cryptography

Filippo Valsorda นักวิทยาการเข้ารหัสลับผู้ดูแลโมดูล crypto ในภาษา Go และผู้สร้างโครงการ mkcert ประกาศรางวัลมูลค่า 12,288 ดอลลาร์ (12 KiUSD) สำหรับผู้ที่ค้นหาต้นทางของค่าคงที่ใน Elliptic Curve P-192, P-224, P-256, P-384, และ P-521 ที่ประกาศโดย NIST แต่สร้างมาโดย Jerry Solinas ที่ทำงานอยู่ NSA

By mk Founder on Tag: FCC, USA, Cybersecurity, Internet of Things, Security, NIST, Whitehouse
FCC

รัฐบาลสหรัฐอเมริกา นำโดยประธานาธิบดีไบเดน เปิดตัวตราสัญลักษณ์รูปโล่ U.S. Cyber Trust Mark เพื่อบ่งชี้ว่าอุปกรณ์ IoT มีความปลอดภัยไซเบอร์มากเพียงพอ ไม่กลายเป็นช่องโหว่ให้ถูกโจมตี

โครงการตราสัญลักษณ์ U.S. Cyber Trust Mark ริเริ่มโดย FCC หรือ กสทช. สหรัฐ จะใช้งานกับอุปกรณ์ทุกรูปแบบที่เชื่อมต่อเครือข่าย เช่น สมาร์ททีวี, ตู้เย็นอัจฉริยะ, เตาไมโครเวฟ, ฟิตเนสแทร็คเกอร์, สมาร์ทมิเตอร์ ฯลฯ โดยมีแบรนด์สินค้าบางราย เช่น Amazon, Best Buy, Google, LG, Logitech, Samsung Electronics ประกาศเข้าร่วมโครงการแล้ว โครงการจะเริ่มดำเนินการจริงในปีหน้า 2024

แบรนด์ที่จะได้ตราสัญลักษณ์ U.S. Cyber Trust Mark จำเป็นต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัยที่กำหนดโดย National Institute of Standards and Technology (NIST) ซึ่งยังไม่เปิดเผยรายละเอียดในตอนนี้

By lew Founder on Tag: NIST, Cryptography, Internet of Things
NIST

NIST ประกาศผลประกวดกระบวนการเข้ารหัสลับและการแฮชข้อมูลสำหรับอุปกรณ์ขนาดเล็ก จากที่มีผู้ส่งประกวด 57 ราย ได้ผู้ชนะคือ Ascon ที่พัฒนาโดยทีมวิจัยร่วมระหว่าง Graz University of Technology, Infineon Technologies, Lamarr Security Research, และ Radboud University

By lew Founder on Tag: NIST, Cryptography
NIST

NIST ออกเอกสาร FIPS 186-5 มาตรฐานการเซ็นลายเซ็นดิจิทัลโดยปรับปรุงจากมาตรฐานเดิม FIPS 186-4 ที่ออกมาตั้งแต่ปี 2013 มีการปรับปรุงถอดอัลกอริทึม DSA (Digital Signature Algorithm) ออกจากมาตรฐาน หลังจากอยู่ในมาตรฐานมาตั้งแต่ปี 1994

DSA คิดค้นโดย David W. Kravitz เจ้าหน้าที่ NSA ในปี 1991 แม้จะยื่นจดสิทธิบัตรไว้แต่ NIST ก็เปิดให้ใช้งานได้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายทำให้ได้รับความนิยมเป็นวงกว้าง เอกสาร FIPS 186-5 ยังอนุญาตให้ไลบรารีต่างๆ รองรับลายเซ็นแบบ DSA ได้เฉพาะการตรวจสอบลายเซ็นในเอกสารเดิมเท่านั้น ไม่อนุญาตให้เซ็นเอกสารใหม่เพิ่มเติม

By lew Founder on Tag: NIST, Hash, Security, Cryptography
NIST

NIST หน่วยงานออกมาตรฐานอุตสาหกรรมสหรัฐฯ ประกาศแผนการถอดมาตรฐานการแฮช SHA-1 ออกจากมาตรฐานทั้งหมดภายในปี 2030 แม้ว่าจะแนะนำให้เลิกใช้งานเร็วที่สุดที่เป็นไปได้ก็ตาม

กระบวนการแฮชแบบ SHA-1 ถูกใช้งานในมาตรฐานหลายตัวของ NIST โดยเอกสารหลักคือ FIPS-180 เอกสารที่ระบุกระบวนการเข้ารหัสที่ยอมให้ใช้งานที่ NIST ใส่ SHA-1 ไว้ตั้งแต่เวอร์ชั่นแรกของเอกสารที่ออกปี 1993

By lew Founder on Tag: NIST, Quantum Cryptography, Quantum Computer, Cryptography
NIST

NIST ประกาศผลการคัดเลือกอัลกอริทึมเข้ารหัสที่ทนทานต่อคอมพิวเตอร์ควอนตัม โดยชุดแรกมี 4 อัลกอริทึมที่จะเข้าสู่กระบวนการจัดทำมาตรฐานต่อไป แบ่งเป็นกระบวนการเข้ารหัสแบบกุญแจลับ/กุญแจสาธารณะ 1 รายการ และกระบวนการสร้างลายเซ็นดิจิทัล 3 รายการ

By mk Founder on Tag: USA, NIST, Quantum Computer, Whitehouse
USA

ประธานาธิบดีโจ ไบเดน เซ็นคำสั่งตั้งคณะกรรมการควอนตัมคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Quantum Initiative Advisory Committee) เพื่อกำหนดทิศทางนโยบายด้านควอนตัมคอมพิวเตอร์ของสหรัฐอเมริกา โดยมีตัวแทนจากสถาบันวิชาการ หน่วยวิจัยภาครัฐ และบริษัทเอกชนเข้าร่วม

คำสั่งนี้ดูเหมือนเป็นการตั้งคณะกรรมการด้านวิทยาศาสตร์-งานวิจัยแขนงอื่นๆ ทั่วไป แต่ในคำอธิบายของทำเนียบขาว มีประเด็นน่าสนใจว่า ในอนาคตอันไม่ไกลนัก เมื่อควอนตัมคอมพิวเตอร์พัฒนาจนดีพอ จะสามารถเจาะการเข้ารหัสลับคอมพิวเตอร์ที่เป็นพื้นฐานด้านความมั่นคงออนไลน์ได้ง่าย

By lew Founder on Tag: NIST, USA, Security, Devlopment
NIST

NIST ประกาศแนวปฎิบัติสำหรับการทดสอบซอฟต์แวร์ขั้นต่ำ (Guidelines on Minimum Standards for Developer Verification of Software) ตามคำสั่งของรัฐบาลโจ ไบเดนที่ให้ NIST วางแนวทางที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงความปลอดภัยไซเบอร์

แม้จะเป็นคำสั่งสำหรับเพิ่มความปลอดภัยไซเบอร์ แต่แนวทางปฎิบัติของ NIST ก็เป็นแนวทางสำหรับกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ดี โดยกำนหนดเงื่อนไขการพัฒนาซอฟต์แวร์ไว้หลายอย่าง เช่น

By lew Founder on Tag: NIST, Ransomware
NIST

NIST ออกร่างเอกสารเฟรมเวิร์คการจัดการความเสี่ยงมัลแวร์เรียกค่าไถ่ NISTIR-8374 ระบุถึงแนวทางการจัดการความเสี่ยงมัลแวร์เรียกค่าไถ่หรือ ransomware วางแนวทางให้องค์กร

เนื้อหาในเอกสารส่วนใหญ่ระบุถึงความเสี่ยงต่างๆ ของมัลแวร์เรียกค่าไถ่แล้วย้อนกลับไปถึงแนวทางการจัดการความปลอดภัยไซเบอร์รูปแบบอื่นๆ ที่มีเอกสารแนวทางมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่ต้วเอกสารเองก็มีคำแนะนำโดยรวม เช่น

By lew Founder on Tag: NIST, Security
NIST

ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ลงนามในกฎหมาย NIST Small Business Cybersecurity Act แล้วเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา หลังจากกฎหมายผ่านโหวตในสภาตั้งแต่ต้นเดือนที่ผ่านมา ทำให้กฎหมายมีสภาพบังคับ ให้ NIST ที่เคยออกมาตรฐานความปลอดภัยให้รัฐบาลกลาง ต้องออกมาตรฐาน, แนวปฎิบัติ, คำแนะนำ, และเครื่องมือต่างๆ เพื่อช่วยให้ธุรกิจขนาดเล็กพัฒนาความปลอดภัยไซเบอร์ง

NIST ออกมาตรฐานความปลอดภัยหลายอย่าง ที่เป็นมาตรฐานสำคัญ เช่น NIST FIPS-140-2 มาตรฐานความปลอดภัยกระบวนการเข้ารหัสลับ หรือแนวปฎิบัติ NIST SP-800-63 ที่กำหนดแนวทางการพิสูจน์ตัวตนสำหรับบริการออนไลน์

By lew Founder on Tag: NIST, Wireless
NIST

NIST ออกเอกสารแนะนำการใช้เครือข่ายไร้สายในโรงงาน NIST AMS 300-4 เป็นครั้งแรกที่ NIST ออกแนวทางการใช้เครือข่ายไร้สายในโรงงาน จากเดิมที่มีการออกแนวทางการรักษาความปลอดภัยในโรงงานมาตั้งแต่ปี 2013

เอกสารออกมาเพื่อวิศวกรที่ดูแลระบบควบคุมโรงงานอยู่เดิม จึงปูพื้นตั้งแต่ระบบเครือข่ายและระบบไร้สาย ไปจนถึงไปการจัดการคลื่นความถี่ นอกจากนี้แนะนำไปถึงข้อแตกต่างระหว่างระบบควบคุมแบบมีสายในโรงงานเดิม กับระบบไร้สาย โดยเตือนให้วิศวกรต้องคำนึงถึงความเสี่ยงที่แพ็กเก็ตจะสูญหาย, ระยะเวลาหน่วงที่ยอมรับได้, และจำนวนอุปกรณ์บนเครือข่าย

By lew Founder on Tag: NIST, Security
NIST

มาตรฐานการยืนยันตัวตน NIST 800-63 เพิ่งออกใหม่ไปเมื่อไม่กี่เดือนก่อน ทาง Wall Street Journal ก็ไปสัมภาษณ์ Bill Burr ผู้จัดการของ NIST เมื่อปี 2003 และเป็นผู้เขียน NIST 800-63A เวอร์ชั่นแรก ระบุว่ารหัสผ่านต้องมีความซับซ้อนด้วยการผสมประเภทอักขระ (ตัวเล็ก, ตัวใหญ่, ตัวเลข, สัญลักษณ์) พร้อมๆ กับระบุให้รหัสผ่านมีวันหมดอายุ

By lew Founder on Tag: NIST, Authentication, Security
NIST

มาตรฐานการยืนยันตัวตน NIST SP 800-63 (มีเอกสารย่อยอีก 4 ฉบับ) เปิดรับฟังความเห็นมาตั้งแต่ปีที่แล้ว ตอนนี้กระบวนการรับฟังความเห็นได้จบลงแล้วและเอกสารตัวจริงออกมาให้องค์กรต่างๆ นำไปใช้งานต่อไป

ความเปลี่ยนแปลงสำคัญในเวอร์ชั่นใหม่ ได้แก่

Subscribe to NIST
Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
Tinder
public://topics-images/hwizi8ny_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
NVIDIA
public://topics-images/srvczsfq_400x400.jpg
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png