วันนี้ 30 มกราคม พ.ศ.2565 ทางทีมพัฒนา PyThaiNLP ได้ปล่อยแพ็กเกจประมวลผลภาษาธรรมชาติ PyThaiNLP รุ่น 3.0 หลังจากที่ปล่อย PyThaiNLP 2.3 ไปเมื่อปีก่อน
PyThaiNLP 3.0 มีความเปลี่ยนแปลงสรุปได้ดังนี้
วันนี้ทางสถาบันวิจัยปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย (AIResearch) และทีม PyThaiNLP ปล่อยโมเดลถอดความจากเสียงพูดภาษาไทย (Automatic Speech Recognition) ที่มีความแม่นยำทัดเทียมกับกูเกิล และบริษัทชั้นนำอื่น ๆ
โมเดลดังกล่าวฝึกฝนบนชุดข้อมูล Mozilla Common Voice 7.0 ที่ได้รับการบริจาคเสียงภาษาไทย จำนวน 133 ชั่วโมง ผู้พูด 7,212 คน (อ่านเพิ่มเติม ร่วมบริจาคเสียงพูดภาษาไทยด้วย Mozilla Common Voice) โดยฝึกกับโมเดล XLSR-Wav2Vec2 ของ Facebook
ทางสถาบันวิจัยได้ปล่อยโมเดลมาในรูปแบบลิขสิทธิ์ CC-BY-SA 4.0 และได้อัปโหลดขึ้น Hugging Face โดยสามารถใช้งานได้ผ่านไลบรารี transformers ในภาษาไพธอนได้
วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2564 ไลบรารีภาษาไพธอนสำหรับประมวลผลภาษาไทย PyThaiNLP ได้ปล่อยเวอร์ชัน 2.3 โดยสรุปความเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้
ข้อมูลเปิดเผย: ผู้เขียนเป็นสมาชิกในทีมพัฒนา PyThaiNLP
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2563 ไลบรารี PyThaiNLP ซึ่งเป็นไลบรารีประมวลผลภาษาไทยแบบโอเพนซอร์สในภาษาไพธอน ได้ออกรุ่น 2.2 โดยเน้นปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของไลบรารี โดยสรุปความเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้
วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2562 ไลบรารี PyThaiNLP ซึ่งเป็นไลบรารีประมวลผลภาษาไทยแบบโอเพนซอร์สในภาษาไพธอน ได้ออกรุ่น 2.1 โดยสรุปความสามารถใหม่ดังนี้