Thailand

พ.ร.บ.ว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ หรือพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์ เป็นหนึ่งในชุดกฎหมายที่รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาผลักดันมาตลอดตั้งแต่ปี 2014 (ร่างแรกปรากฎต่อสาธารณะปี 2015) หลังจากผ่านร่างกฎหมายไปตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ วันนี้กฎหมายก็ลงราชกิจจานุเบกษาเรียบร้อยแล้ว

การประกาศลงราชกิจจานุเบกษาทำให้กระบวนการต่างๆ เริ่มเดินหน้า เช่นการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 90 วัน การแต่งตั้งเลขาธิการคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ ใน 90 วัน, และการจัดตั้งสำนักงานใน 1 ปี

ที่มา - ราชกิจจานุเบกษา

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's company cover
CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's
CP AXTRA Lotus's is revolutionizing the retail industry as a Retail Tech company.
Token X company cover
Token X
Blockchain, ICO, Tokenization, Digital Assets, and Financial Service
Carmen Software company cover
Carmen Software
Hotel Financial Solutions
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd. company cover
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd.
We are web design with consulting & engineering services driven the future stronger and flexibility.
United Information Highway Co., Ltd. company cover
United Information Highway Co., Ltd.
UIH is Thailand’s leading Digital Infrastructure and Solution Provider for Business
KKP Dime company cover
KKP Dime
KKP Dime บริษัทในเครือเกียรตินาคินภัทร
Kiatnakin Phatra Financial Group company cover
Kiatnakin Phatra Financial Group
Financial Service
Fastwork Technologies company cover
Fastwork Technologies
Fastwork.co เว็บไซต์ที่รวบรวม ฟรีแลนซ์ มืออาชีพจากหลากหลายสายงานไว้ในที่เดียวกัน
Thoughtworks Thailand company cover
Thoughtworks Thailand
Thoughtworks เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโยลีระดับโลกที่คว้า Great Place to Work 3 ปีซ้อน
Iron Software company cover
Iron Software
Iron Software is an American company providing a suite of .NET libraries by engineer for engineers.
CLEVERSE company cover
CLEVERSE
Cleverse is a Venture Builder. Our team builds several tech companies.
Nipa Cloud company cover
Nipa Cloud
#1 OpenStack cloud provider in Thailand with our own data center and software platform.
CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
CIMB THAI Bank company cover
CIMB THAI Bank
MOVING FORWARD WITH YOU - CIMB is the leading ASEAN Bank
Bangkok Bank company cover
Bangkok Bank
Bangkok Bank is one of Southeast Asia's largest regional banks, a market leader in business banking
Gofive company cover
Gofive
“We create world-class software experience”
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group company cover
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group
KBTG - "The Technology Company for Digital Business Innovation"
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"
Icon Framework co.,Ltd. company cover
Icon Framework co.,Ltd.
Global Standard Platform for Real Estate แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร มาตรฐานระดับโลก
REFINITIV company cover
REFINITIV
The Financial and Risk business of Thomson Reuters is now Refinitiv
H LAB company cover
H LAB
Re-engineering healthcare systems through intelligent platforms and system design.
LTMH TECH company cover
LTMH TECH
LTMH TECH มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยพันธมิตรของเราให้บรรลุเป้าหมาย
Seven Peaks company cover
Seven Peaks
We Drive Digital Transformation
Wisesight (Thailand) Co., Ltd. company cover
Wisesight (Thailand) Co., Ltd.
The Best Choice For Handling Social Media · High Expertise in Social Data · Most Advanced and Secure
MOLOG Tech company cover
MOLOG Tech
We are Modern Logistic Platform, Specialize in WMS, OMS and TMS.
Data Wow Co.,Ltd company cover
Data Wow Co.,Ltd
We enable our clients to realize increased productivity by solving their most complex issues by Data
LINE Company Thailand company cover
LINE Company Thailand
LINE, the world's hottest mobile messaging platform, offers free text and voice messaging + Call
LINE MAN Wongnai company cover
LINE MAN Wongnai
Join our journey to becoming No.1 food platform in Thailand

ทำทุกอย่างเพื่อตัวเองและพวกพ้อง ปิดปากประชาชน จำกัดสิทธิคนอื่น คอยขัดขาคนอื่นๆ ไม่แปลกที่กฎหมายแบบนี้จะออกได้ในสมัยตัวเอง ส่วนคนธรรมดาก็รับกรรมโดยทำอะไรไม่ได้เลย ประเทศที่ไร้ซึ่งความหวังจริงๆ

raifa Mon, 05/27/2019 - 20:22

ไม่แปลกใจ เพราะทำอะไรก็ไม่มีใครหยุดได้แล้วตอนนี้

เป้าหมายของ พรบ.นี้คือแฮกเกอร์
หลายคนก็ยังพยายามจะให้เข้าใจว่า พรบ.นี้ใช้ปิดปากประชาชน ?

ก็ .. เอาที่สบายใจ

เพราสิ่งที่มาจากรัฐบาลที่ทำรัฐประหาร ไม่มีอะไรที่น่าเชื่อถือเลยไง แม้แต่รัฐบาลปกติก่อนหน้าก็ตาม มีอะไรน่าเชื่อถือบ้างไหม ไม่มีเลย

และผมไม่เคยเชื่อถือในรัฐตั้งแต่แรกอยู่แล้ว ทำตัวเองให้คนเกลียด ก็สมควรได้รับผลของการกระทำครับ

สนับสนุนให้ประชาชนเป็นอิสระจากทุกสิ่ง มีสิทธิมีเสียงในทุกเรื่อง ดูแลกันเองได้โดยไม่ต้องมีรัฐบาลอีกเลย ประชาธิปไตยถึงจะมาสำหรับบ้านเรา พอแค่นี้

ที่คุณว่ามาเรียกอนาธิปไตยครับ ไม่ใช่ประชาธิปไตย
ซึ่งส่วนตัวผมก็ชอบ แต่มันเป็นโลกอุดมคติที่จะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมนุษย์อยู่ในสภาะวจริยธรรมที่สูงเกินกว่าค่าเฉลี่ยปัจจุบันไปอีกไกลโข

ตราบใดที่คนยังเป็นคน รัฐก็ยังต้องเป็น"เลเวียธาน"ไปแบบนี้แหละ
แค่เราต้องมีบังเหียนที่ใช้คุมอีกที ซึ่งประชาธิปไตยก็ยังเป็นบังเหียนที่เลวน้อยที่สุดเท่าที่เราจะมีในตอนนี้แหละครับ

ดูจากประชากรไทยแล้ว ถ้าปล่อยให้มีอิสระจากทุกสิ่ง ผมว่ายับแน่นอน
จิตสำนึกพื้นฐานต่ำเตี้ยเรี่ยดินขนาดนี้

เอาเข้าคุกก็คือการปิดปากประชาชนทางกฎหมายดีๆ นี่เองครับ รัฐมีอำนาจล้นมอกับประชาชนที่ไม่มีอะไรเลย ผลที่จะเกิดก็รู้กันอยู่แล้วหละครับ

กฎหมายที่เขียนมาแย่ๆและ/หรือมีช่องโหว่ มันใช้ทำอะไรก็ได้ครับ ไม่จำเป็นต้องใช้ตามวัตถุประสงค์

จนถึงตอนนี้คุณยังมองไม่เห็นข้อเสียของกฎหมายแย่ๆและ/หรือมีช่องโหว่อีกหรือครับ? หรือคุณชื่นชอบผู้ได้รับผลประโยชน์จากกฎหมายเหล่านั้นจนมองไม่ออกกันแน่?

1.คำจำกัดความวิกฤติ​คลุมเครือซึ่งเปิดช่องให้คณะกรรมการ​เข้าถึงข้อมูล​ใดๆก็ได้เลยไม่ต้องขอใคร
2.ครอบคลุมทุกกาลเวลาอดีต​ปัจจุบัน​อนาคต​ แค่สงสัยก็ใช้อำนาจได้ หลักการให้สงสัยก็ไม่ชัดเจน

แค่2ข้อนี้ก็สามารถ​นำไปสู่การใช้อำนาจเอาข้อมูล​ใดๆที่ต้องการมาใช้ประโยชน์​หรือสาวต่อในมาตรา​อื่นๆได้แล้ว ถูกครับ พรบ.นี้จุดประสงค์​ดี แต่มีการเปิดช่องที่ไม่รัดกุมอย่างโจ่งแจ้งอยู่ เคยเห็น รธน.ปราบโกงไหมครับ แล้วมันเอามาปราบอะไร

ยังไม่นับรวมถึงการแต่งตั้ง​คณะกรรมการ​ที่มีรูปแบบการตั้ง สว.เป็นตัวอย่างให้เห็นแล้วว่าจะตั้งพวกไหนมา

กฎหมายกับพรบ.กี่ฉบับก็บอกว่าเอามาจัดการกับอาชญากร อาชญากรรมทั้งนั้นแหละครับ มีด้วยเหรอ กฎหมายที่เอาไว้จัดการกับคนทั่วๆ ไปที่ไม่ได้ทำผิด ... พูดจากแปลกประหลาด

ที่ประหลาดกว่าคือคุณไม่รู้ว่ากฎหมายมันเอาไว้ใช้เป็นข้ออ้างเพื่อทำสิ่งเลวร้ายได้อย่างถูกกฎหมายอีกด้วย

อย่าง GT200 นี่ตัวอย่างเบาะๆ เพราะกฎหมายไทยเปลี่ยนคนให้เป็นแพะมาไม่รู้กี่สิบกี่ร้อยปีแล้ว

แล้วคนที่ต่อต้านกฎหมายนี้ ไม่ใช่ต่อต้านเพราะฝ่ายการเมืองที่ตัวเองเกลียดเป็นผู้ผ่านกฎหมายดังกล่าว แต่เป็นเพราะกฎหมายมันจะส่งผลระยะยาวต่อทุกๆ คนในประเทศ ไม่ใช่แค่ฝั่งการเมืองใดฝั่งการเมืองนึง สักวันนึงฝ่ายลุงตู่ก็ต้องหมดอำนาจ แล้วกฎหมายที่หละหลวมฉบับนี้ก็ยังคงสร้างเหยื่อรายใหม่ๆ ได้ต่อไป

"ไม่ทำผิดจะกลัวอะไร" เป็นคำพูดของคนที่อคติ และ ignorant อย่างที่สุด

อย่าพูดจาไร้สาระอีกนะครับ

ปัญหามันก็คือมันไม่ต้องขอหมายศาลครับ
คือแค่คณะกรรมการ สงสัยว่าคุณเป็นภัยทางไซเบอร์
เขาก็ให้เจ้าหน้าที่ไปจับตัวหรือขอค้นบ้านคุณได้ทันที เหตุผลคิอเขาสงสัยแค่นั้นล่ะ
ต่อให้คุณไม่ผิด ก็ไม่ต้องมีใครรับผิดชอบอะไร เพราะเขาใช้อำนาจตามกฏหมายข้อนี้ไงครับ

ผมว่าคนต่อไปเรารู้กันอยู่แล้วหละครับ คนเดิมแน่นอน ไม่ต้องเดาเลย มีพยายามที่จะเป็นให้ได้ซะขนาดนี้

ดีไม่ดีแม้วเองก็ไม่ได้เป็นนายกฯ ต่อเพราะเลือกตั้งแพ้ไปเอง อยู่นานๆ คนเบื่อกันไปตามปกติไม่ก็มีคนทำดีและเก่งกว่ามาดึงดูด ?

รอกันไปดีๆ ตามวัฏจักรก็ไม่ได้

อ่ะจริง เสื้อแดงก็ทำตามโมเดลของเสื้อเหลืองนี่แหละ ตั้งแต่การเมืองบนถนน ปิดสถานที่สำคัญ จนสุดท้ายกปปส.เองก็รุมทำร้ายร่างกายคนไม่เกี่ยวข้อง แถมยังเผานั่นเผานี่กระจายทั่วกรุงอีก ตอนนี้ถ้ามีเสื้อแดงอีก คงได้ใช้โมเดล "ขอรับบริจาค" จากอดีตพุทธอิสระ

เสื้อเหลืองและม็อบฝ่ายอนุรักษ์นิยมนี่เป็นโรลโมเดลทางการเมืองในทางที่แย่อยู่หลายอย่างนะ

ที่น่าเศร้าก็คือกลุ่มที่น่าจะเป็นหัวก้าวหน้า เป็นหัวหอกในการเปลี่ยนแปลง ก็ดันทำแบบคนยุคเก่าที่ตัวเองด่าไว้
ส่วนคนยุคเก่าก็ด่าคนยุคใหม่ที่ทำเรื่องที่ตัวเองทำมาก่อน แล้วก็ทำเรื่องแบบเดิมซ้ำ

สุดท้ายก็ยังมองไม่เห็นว่าความขัดแย้งนี้จะพาเราไปเจออะไรใหม่ๆได้ยังไง ในเมื่อต่างฝ่ายต่างก็ทำอะไรเหมือนๆกัน

รัฐบาลชุดนี้มีอะไรให้เชื่อถือบ้างครับ ผมเห็นแต่คนแก่ๆโบราณทางเทคโนฯ ดูตัวอย่างจากอุปกรณ์การนับคะแนนในสภาที่เอาภาษีปชช.ไปจ่ายครั้งละ 11ล.แล้วยังมีหน้ามาออกกฏด้านไอทีเนี่ยนะ แต่ละอย่างเพื่อความต้องการส่วนคณะทั้งนั้นหน่านี๊....นี๊....นี๊ ขำๆนะครับ ^^

ในเมื่อรัฐสภาใหม่ยังไม่เรียบร้อย อุปกรณ์ยังไม่มี ผมว่าแบบบ้าน ๆแบบเนี่ย โปร่งใสดีนะครับ ไม่มีการครหาว่าตัวเลขเพี้ยนได้เลย เพราะคนนับและคนขีดก็เป็นตัวแทนของ สส. ในห้องประชุม

ผมก็ว่าดีนะวิธีการโปร่งใส แต่ถ้าคนนำไปใช้ดำมืด ใครเห็นต่างไม่ได้ มันก็เปลี่ยนจากขาวเป็นดำได้นี่สิครับ เพราะความชัดเจนไม่มีเลย..ชีวิตมันเศร้า..

เป็นการเริ่มต้นที่ดีครับ ที่ไทยมีกฏหมายฉบับนี้ อยากให้สายงานผู้ออกกฏหมายเกี่ยวกับไอที คัดสรร คนที่ดีและเก่งมาร่วมงานเยอะ ๆ ครับ เพื่อฉบับต่อ ๆ ไปจะได้รับการแก้ไขให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป

กว้างกว่าปากแม่น้ำก็กฏหมายไทยนี้แหละ ?

ไม่ว่าจะฝ่ายไหนก็ไม่มีสิทธิ์โดนกฏหมายนี้เล่นงาน นอกจากระทำความผิดจริง(แฮกเกอร์ที่มีภัยต่อความมั่นคงจริงๆ ไม่ใช่มโน)

เจตนาออกกฏหมายให้คลุมเครือ มันชวนให้คิดนะครับว่าจะเอาไปใช้ทำอะไรบ้าง เน้นๆ ก็คือเอาไปกำจัดคนที่เห็นว่าอยู่ฝั่งตรงข้ามนั่นแหละครับ เห็นอะไรไม่น่าพอใจก็บอกเลยว่าเป็นภัยระดับวิกฤติ

ผมเข้าใจว่า การออกกฎหมายพวกนี้ ก็เพื่อไปจัดการพวกหมิ่นเบื้องสูงด้วย ผมเห็นคนพวกนี้เอาภาพในหลวงแต่ละรัชกาลและภาพพระราชินิไปทำภาพล้อเลียน เขียนข้อความแปะภาพหมิ่นเบื้องสูง ทำเอาสนุกเลยอ่ะ แล้วผมบังเอิญไปเจอเพจที่ชื่อคล้ายยี่ห้อนมเปรี้ยวชื่อดังเพจนึง เพจนี้นี่ก็ตัวแรงเเลย ไม่รู้ว่าเปิดปิดมากี่ทีแล้วนะ แต่เห็นคนกดติตามหลายหมื่นหลายแสน ผมไม่แปลกใจเลยว่าทำไมการเมืองเอย ประชาชนไทยเอย มันถึงได้แตกแยกกันแบบนี้ เพราะมันยังมีขั้วที่ไม่เอากษัตริย์อยู่นี่ล่ะ (ดูอย่างกรณีป๋าเปรมถึงอาสัญกรรมก็ได้ มีแต่ความคิดรุนแรงเต็มบ้านเต็มเมืองไปหมด) แถมนักการเมืองที่สมัครเข้ามาเป็น ส.ส. ก็มีคนที่มีความเห็นรุนแรงเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์อยู่ด้วย แล้วแบบนี้จะให้เชื่อใจได้อย่างไร กฎหมายพวกนี้มันก็เลยบังเกิดขึ้นมานั่นแหละ ถ้าคนไทยรู้จักระเบียบวินับ และรู้จักว่าอะไรควรไม่ควร ผมว่ากฎหมายต่างๆ ที่มีออกมาตอนนี้ มันคงมีน้อยกว่านี้อ่ะ

ยิ่งปิดหูปิดตา ยิ่งอยากรู้อยากเห็นนะครับ ถ้าที่คุณกล่าวมาเป็นความจริง พรบ.นี้ถือเป็นภัยต่อคะแนนนิยมของสถาบันเองด้วยซ้ำ

ท่ามกลางโลกสากลที่มีเสรีภาพในการวิพากษ์วิจารณ์ แต่มีบางเรื่องที่พูดไม่ได้ในประเทศนี้

เห็นด้วยครับ และสถาบันก็ควรเปิดรับด้วยซ้ำไป แทนที่จะพยายามปิดกั้น ซึ่งผลลัพธ์ก็เห็นอยู่แล้ว และกฎหมายธรรมดาอย่างดูหมิ่นหรือกล่าวเท็จก็ครอบคลุมอยู่แล้วด้วย ไม่จำเป็นต้องมี 112 หรือกฎหมายเฉพาะด้วยซ้ำ

ถ้าสถาบันอ่อนแอและอ่อนไหวจนกระทั่งต้องปิดบังและออกกฎขนาดนี้ อย่ามีเลยจะดีกว่า หรือสละสถาบันให้กับประชาชนเป็นผู้ดูแลปกครองบ้านเมืองเหมือนชาติอื่นๆ ในอดีตยังจะดีกว่า โดยไม่ต้องมากล่าวหาหรือพยายามอ้างเบื้องสูงมาเล่นกับการเมือง เพราะมันไม่มีแล้ว อยู่ที่ประชาชนล้วนๆ

สำหรับผม ผมมองว่าสถาบันก็เป็นเครื่องบ่งบอกฐานะและอำนาจของคนระดับสูงเหล่านั้น เช่นเดียวกับมหาเศรษฐี ผู้ทรงอิทธิพล หรือบุคคลชนชั้นสูงด้วยซ้ำ แทบไม่ได้ต่างกันเลย

ทำไมคุณถึงคิดว่าสถาบันกษัตริย์ไทยอ่อนแอกว่าสถาบันกษัตริย์ในนานาอารยะประเทศครับ? ของนานาอารยะประเทศเขาวิจารณ์ได้ล้อเลียนได้แต่เขาก็ยังคงอยู่ได้ แล้วทำไมของไทยจะอยู่ไม่ได้บ้าง?

ไม่จำเป็นต้องมีพรบ.นี้ และแม้ไม่มีม.112 เพียงแค่ยังคับใช้กฎหมายหมิ่นประมาทธรรมดาๆ อย่างเคร่งครัดกับผู้ทำผิดกฎหมายก็แก้ปัญหาได้แล้วครับ

พรบ.คอมฉบับเก่าก็ครอบคลุมหมดแล้ว

พรบ.คอมฉบับนี้คือ gt200 ในทางกฎหมายครับ

ตามความเข้าใจของผม หากไม่มี ม.112 สถาบันพระมหากษัตริย์ก็จะถูกดูหมิ่นและโจมตีอยู่เรื่อยไปอ่ะครับ แล้วลองคิดเล่นๆ ดูครับ ว่าถ้าไม่มี ม.112 จะให้พระมหากษัตริย์ไปฟ้องหมิ่นประมาทคนธรรมดาที่สถานีตำรวจ คุณจะมองว่าอย่างไรอ่ะ? คนที่ถูกพระมหากษัตริย์ฟ้อง คงจะคิดอย่างไรกับพระมหากษัตริย์ ที่เจาะจงตัวมายังเขา? ผมว่ามี ม.112 ดีละ

ปัญหาจริงๆ ไม่ใช่ ม.112 หรอก ปัญหาจริงๆ อยู่ที่ว่าคนๆ นั้น จงใจหมิ่นสถาบันหรือไม่? และคนจะฟัองผิด ม.112 จงใจกลั่นแกล้งคนนั้นๆ หรือไม่? มากกว่าครับ

พระมหากษัตริย์ไม่จำเป็นต้องฟ้องเองนี่ครับ ปัจจุบัน ม.112 ก็มีคนแจ้งความดำเนินคดีให้ตลอด ที่สำคัญคือสำนักพระราชวังสามารถให้ตัวแทนดำเนินคดีได้ครับ

ส่วนปัญหาที่คุณคิดว่าเป็นปัญหาจริงๆ ผมว่าคุณควรอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้ได้คำตอบสำหรับคำถามที่คุณถามครับ ผมคิดว่าคุณตั้งคำถามได้ดีแล้ว

ผมไม่ได้มีปัญหาอะไรกับสถาบันพระมหากษัตริย์ครับ ผมมองถึงการบังคับใช้กฎหมาย และการใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือมากกว่า เพราะมาตราดังกล่าวมันค่อนข้างชัดเจนว่าขั้วการเมืองไหน จะใช้กับขั้วการเมืองไหน ถูกมั้ยครับ

สถาบันกษัตริย์ถูกโจมตีอยู่เรื่อยแล้วทำไมครับ? สถาบันกษัตริย์ก็ต้องทำตัวไม่ให้ถูกโจมตีเองรึป่าว เป็นบุคคลสาธารณะ ใช้งบประมาณของประเทศ มีอำนาจต่างๆมากมายเต็มไปหมด ตรวจสอบไม่ได้ และยังมีการใช้อำนาจไปในทางที่แปลกๆอีก

ย่อหน้าหลังเนี่ย ถ้าคนๆนั้นหรือใครสักคนเค้าจงใจหมิ่นสถาบันแล้วทำไมครับ??? สถาบันกษัตริย์บ้านเราเป็นโรคซึมเศร้าเหรอครับถึงได้อ่อนไหวขนาดนั้น? ไม่ครับ บ้านในหลวงชั้นใต้ดินถูกทำให้เป็นเรือนจำ เค้าไม่ชอบใครเป็นการส่วนตัวก็หาวิธีจับขังไว้ที่นั่นได้อยู่แล้วครับ ไม่จำเป็นต้องมี 112 ครับ แค่กฎหมายหมิ่นประมาทธรรมดา ในหลวงฟ้องเองหรือฝากคนใช้ที่บ้านไปฟ้องให้ก็ได้แล้วครับถ้าขี้เกียจ

มันมีเหตุผลที่มีคนไม่เอาสถาบันฯ เพราะการศึกษาที่สูงขึ้น ทำให้คนรู้อะไรหลาย ๆ ด้าน และทำให้คนอยากหลุดออกจากระบบความคิดดั้งเดิมและสร้างระบบแนวคิดใหม่ เกิดขึ้นหมดทุกชาติที่การศึกษาสูงขึ้น แต่แลดูประเทศของเราจะอ่อนไหวกับเรื่องแบบนี้เป็นพิเศษก็เท่านั้นเอง

ผมคงไม่กล่าวอะไรเพิ่มเติมหลังจากนี้ แต่คาดว่าบางท่านคงทราบเรื่องราวเหล่านี้เป็นอย่างดี

เรื่องการศึกษา เหมือนว่าจะมีปัญหาว่าคนเหล่านั้นชอบเอาประเทศไทยไปเทียบกับวัฒนธรรมและประชาธิปไตยในต่างประเทศ (โดยเฉพาะวัฒนธรรมตะวันตก) ทั้งๆ ที่วัฒนธรรมประเทศเราเป็นอยู่อย่างนี้ก็ดีอยู่แล้วแท้ๆ

อันนี้ผมเห็นด้วยครับ วัฒนธรรมแย่ๆ ในประเทศไทยก็มีเหมือนกัน เช่น วัฒนธรรมความมักง่ายในตน อย่างการขับขี่มอไซค์บนทางเท้า ทิ้งขยะเรื่ยราด ขับรถฝ่าไฟแดง จอดรถเลนกลางถนนขวางการจราจร ฯลฯ

ไม่เกี่ยวกับการเปรียบเทียบหรอก คนมีการศึกษานี่แหละที่เจอจุดบกพร่องในประเทศ และอยากจะเปลี่ยน แต่มีกลุ่มอนุรักษ์นิยม/ชาตินิยมต่อต้าน เพราะอาจจะเคยชิน หรือได้รับผลประโยชน์จากจุดนั้น เลยกลายเป็นตีกันไปกันมาเหมือนทุกวันนี้

ฉะนั้น คนยุคนี้ไม่ได้ยึดถือวิถีอนุรักษ์นิยม/ชาตินิยมเหมือนสมัยก่อนแล้ว และกลุ่มนี้มีอยู่มากเสียด้วย

จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา มันก็ใช่อยู่แล้วล่ะ หากมีใครแสดงออกแบบโจ่งแจ้ง หรือมีความประสงค์ไม่ดีต่อสถานบัน ยังไงก็ต้องมีคนออกมาต่อต้านอยู่ละ แต่ปัญหาคือ คนพวกนี้มักจะก่อหวอดในที่มืดที่ลับนี่สิครับ คนเสี้ยมสอนให้คนเกลี่ยดชังกัน

มันก็แค่ความเข้าใจของผมเท่านั้นล่ะ ส่วนข้อดีข้อเสียด้านอื่นจะเป็นอย่างไร รอความคิดเห็นท่านอื่นละกันครับ เพราะถ้าจะให้พูดซ้ำกับความเห็นอื่น ก็ใช่เรื่องอ่ะ

ตรรกะไดโนเสาร์มาก เป็นขั้วไม่เอาสถาบันกษัตรย์แล้วทำไมครับ แค่ไม่เอากษัตริย์นี่เท่ากับเป็นคนไม่ดีคนชั่วคนก่อความวุ่นวาย ความคิดรุนแรง เชื่อใจไม่ได้ หรือแปลว่าจะตามทำร้ายตัวบุคคลนั้นๆเลยเหรอ คุณไม่เคยเห็นเพจล้อเลียนทักษิณ ยิ่งลักษณ์เหรอครับ

มองโลกแบบสุดโต่งไปครับ ไม่เอากษัตริย์เค้าก็เป็นคนดีได้ครับ คนปกติแบบคนทั่วๆไป มาออกกฎหมายเพื่อจ้องจับพวกเค้าที่เชื่อคนละอย่างกับคุณนี่ก็บ้าไปละครับ

ความแตกแยกไม่ได้เกิดจากคนไม่เอาสถาบันกษัตริย์ แต่เกิดจากการห้อยโหนสถาบันกษัตริย์มาตลอดตะหากครับ คนไม่เอาสถาบันกษัตริย์เป็นแค่ผลพลอยได้ของกระบวนการ คิดดูดีๆอะไรที่เป็นต้นเหตุ

ตรรกกะกษัตริย์แตะต้องไม่ได้นี่เริ่มจะเสื่อมถอยแล้วนะครับ ข่าวสารข้อมูลมันกว้าง ปิดหูปิดตาใครไม่ได้แล้ว สถาบันควรปรับตัว ถ้าไม่ปรับตัวก็ต้องทำแบบเกาหลีเหนือไปเลย

ถอยหลังเข้าคลอง
ประเทศไทยมีแนวโน้มปกครองแบบเกาหลีเหนือมากขึ้นเรื่อยๆ
จะโทษใครได้ อ้อโทษคนโง่ๆในเว็ปเมเนเจอร์ที่สนับสนุนเผด็จการ

ชนเหล่าใดออกกฎหมายก็เพื่อชนเหล่านั้นล่ะ (ถูกใจก็ออก หากชนกลุ่มนี้เห็นพ้องกันโดยมากแล้ว และประชาชนต่อต้านกฎหมายที่ต้องการออกนั้นมีค่อนข้างน้อย)
1.ออกกฎหมายจะอิงความถูกต้องก็ได้ หรือ2.จะออกโดยไม่สนความถูกต้องก็ได้ (ปศุสัตว์ เหล้า บุหรี่ และอื่นๆ) แต่มีการคิดเหตุผลประกอบไปด้วย

การคิดว่าขอแค่เพียงทำตามกฎหมาย แล้วถูกต้องอาจไม่จริงทุกเรื่อง
และในบางทีที่บอกว่าผิดอาจจะผิดตามกฎหมาย แต่เมื่อพิจารณาดีๆ มันไม่ควรเป็นเรื่องที่ผิดก็ (เช่น บอกเรื่องจริงให้คนอื่นใน social ระวังว่าอย่าให้คนนี้ยืมเงินนะ ยืมแล้วไม่คืน อันนี้โดนหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาครับ)

สำหรับผม บอกก่อนนะครับว่าผมไม่ได้ต่อต้านกฎหมายนะครับ เพียงแต่ผมทำความเข้าใจว่ากฎหมายถูกต้องมี และไม่ถูกต้องก็มี
ไม่หลงไปว่ากฎหมายทั้งหมดนั้นถูกต้องเท่านั้นครับ

ลองออกมาสัมผัสดูครับ ปิดคอม ปิดมือถือ แล้วเดินออกมา เริ่มจากถามคนรอบตัวก็ได้ครับ เช่น วินมอไซหน้าปากซอย แม่ค้าขายข้าวแกงที่ตลาดใกล้บ้าน ได้ผลอย่างไร บอกผมด้วยนะครับ

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
NVIDIA
public://topics-images/srvczsfq_400x400.jpg
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png
OneNote
public://topics-images/onenote.png
Windows App
public://topics-images/windows-app.png
Notion
public://topics-images/notion.png
Google Drive
public://topics-images/drive.png
YouTube Kids
public://topics-images/yt-kids.png
Gboard
public://topics-images/gboard.png
DeepSeek
public://topics-images/deepseek_logo.svg_.png
Prince of Persia
public://topics-images/prince-persia.png
Sony
public://topics-images/nq0nd2c0_400x400.jpg
Tencent
public://topics-images/z4xi4oyc_400x400.jpg