Lawsuit

ช่วงนี้มีข่าว Uber โดนหน่วยงานภาครัฐทั่วโลกเล่นงานเยอะมาก และล่าสุดแม้แต่ใน "บ้านเกิด" ของ Uber เองอย่างเมืองซานฟรานซิสโกก็เตรียมฟ้อง Uber เช่นกัน

อัยการเขตซานฟรานซิสโกประกาศว่าร่วมมือกับอัยการเขตลอสแองเจลิส ยื่นฟ้อง Uber ในสองข้อหา คือโฆษณาเกินจริงหรือชวนให้เข้าใจผิด (ประเด็นการตรวจสอบประวัติคนขับ และการเก็บเงิน 1 ดอลลาร์ค่าความปลอดภัย) และข้อหาละเมิดกฎหมายของรัฐแคลิฟอร์เนีย อัยการทั้งสองเขตบอกว่าบริษัทเรียกรถยนต์เหล่านี้สามารถสร้างนวัตกรรมได้โดยไม่ละเมิดกฎหมายที่ปกป้องคุ้มครองประชาชน

ก่อนหน้านี้อัยการเคยประกาศดำเนินคดีกับแอพเรียกรถยนต์เหล่านี้แล้ว และ Lyft คู่แข่งของ Uber ก็ยอมความนอกศาลมาก่อนแล้ว โดยจ่ายค่าตกลงยอมความ 500,000 ดอลลาร์ ในขณะที่ Uber ไม่สนใจเจรจาแบบที่ Lyft ทำ

ที่มา - Silicon Valley

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's company cover
CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's
CP AXTRA Lotus's is revolutionizing the retail industry as a Retail Tech company.
Token X company cover
Token X
Blockchain, ICO, Tokenization, Digital Assets, and Financial Service
Carmen Software company cover
Carmen Software
Hotel Financial Solutions
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd. company cover
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd.
We are web design with consulting & engineering services driven the future stronger and flexibility.
United Information Highway Co., Ltd. company cover
United Information Highway Co., Ltd.
UIH is Thailand’s leading Digital Infrastructure and Solution Provider for Business
KKP Dime company cover
KKP Dime
KKP Dime บริษัทในเครือเกียรตินาคินภัทร
Kiatnakin Phatra Financial Group company cover
Kiatnakin Phatra Financial Group
Financial Service
Fastwork Technologies company cover
Fastwork Technologies
Fastwork.co เว็บไซต์ที่รวบรวม ฟรีแลนซ์ มืออาชีพจากหลากหลายสายงานไว้ในที่เดียวกัน
Thoughtworks Thailand company cover
Thoughtworks Thailand
Thoughtworks เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโยลีระดับโลกที่คว้า Great Place to Work 3 ปีซ้อน
Iron Software company cover
Iron Software
Iron Software is an American company providing a suite of .NET libraries by engineer for engineers.
CLEVERSE company cover
CLEVERSE
Cleverse is a Venture Builder. Our team builds several tech companies.
Nipa Cloud company cover
Nipa Cloud
#1 OpenStack cloud provider in Thailand with our own data center and software platform.
CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
CIMB THAI Bank company cover
CIMB THAI Bank
MOVING FORWARD WITH YOU - CIMB is the leading ASEAN Bank
Bangkok Bank company cover
Bangkok Bank
Bangkok Bank is one of Southeast Asia's largest regional banks, a market leader in business banking
Gofive company cover
Gofive
“We create world-class software experience”
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group company cover
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group
KBTG - "The Technology Company for Digital Business Innovation"
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"
Icon Framework co.,Ltd. company cover
Icon Framework co.,Ltd.
Global Standard Platform for Real Estate แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร มาตรฐานระดับโลก
REFINITIV company cover
REFINITIV
The Financial and Risk business of Thomson Reuters is now Refinitiv
H LAB company cover
H LAB
Re-engineering healthcare systems through intelligent platforms and system design.
LTMH TECH company cover
LTMH TECH
LTMH TECH มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยพันธมิตรของเราให้บรรลุเป้าหมาย
Seven Peaks company cover
Seven Peaks
We Drive Digital Transformation
Wisesight (Thailand) Co., Ltd. company cover
Wisesight (Thailand) Co., Ltd.
The Best Choice For Handling Social Media · High Expertise in Social Data · Most Advanced and Secure
MOLOG Tech company cover
MOLOG Tech
We are Modern Logistic Platform, Specialize in WMS, OMS and TMS.
Data Wow Co.,Ltd company cover
Data Wow Co.,Ltd
We enable our clients to realize increased productivity by solving their most complex issues by Data
LINE Company Thailand company cover
LINE Company Thailand
LINE, the world's hottest mobile messaging platform, offers free text and voice messaging + Call
LINE MAN Wongnai company cover
LINE MAN Wongnai
Join our journey to becoming No.1 food platform in Thailand

ช่วงนี้ข่าว Uber รัวๆ สงสัยเร็วนี้คงได้มีวิเคราะห์บทความพิเศษออกมาแน่เลย อ่านมาหลายข่าวสรุปคิดเอาเองเหมือนทีมบริหารเป็นประเภทยอมหักไม่ยอมงอ

+1 เพราะภาพลักษณ์สำคัญที่สุด ถ้าชื่อเสียหายไปแล้วความเชื่อมั่นของนักลงทุนคงหล่นวูบ

รู้สึกว่าผู้บริหาร Uber แข็งกร้าวเกินไปเหมือนกันครับ

leonoinoi Thu, 12/11/2014 - 07:28

ตามความเห็นผม ยังไงก็หยุดไม่อยู่หรอกครับ สิ่งที่มันเวิร์ค ตลาดเป็นตัวตัดสิน ไม่ใช่กฏหมาย

ก็เข้าใจกันถูกแล้วละครับ ถ้าทำให้ uber ผิกกฏหมาย สภาพ uber ก็ไม่ต่างจาก หวย บ่อน ยาเสพติด ทั้งทั้ง ที่เป็นบริการรถเช่าธรรมดา ทีนี้ก็ไม่ต้องคุยต่อเรื่อง หวยบนดิน หรือบ่อนถูกกฏหมาย เพราะขนาดรถเช่าธรรมดายังไม่ถูกกฏหมาย (ผมว่ารัฐ ป่วยครับ)

ประเด็นคือ Uber มันเป็นบริการที่ผู้ใช้บริการไม่รู้ว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างไงครับ

จุดนี้ต้องการทำตลาดก็แค่ตบสภาพแวดล้อมของบริการให้เข้ากับกฏหมาย ซึ่งกฏหมายก็ไม่ได้ต่อต้านอะไรเลย เพียงแค่มีสิ่งที่ต้องทำให้ครบเพื่อให้บริการต่อไปก็เท่านั้นเอง

แต่ Uber เลือกที่จะฝ่ากฏนั้นๆ แล้วพยายามใช้ผู้ใช้บริการเป็นตัวประกัน ซึ่งผมไม่ชอบวิธีการดำเนินธุรกิจแบบนี้

ผิดกับยาเสพติด ถ้ากฏหมายบอกว่ายาเสพติดชนิดนั้นๆ ผิดกฏหมาย จะทำอีท่าไหนอย่างไรก็ผิดกฏหมายครับ แต่กรณี Uber มีกฏหมายมารอรับแล้ว แต่ไม่ยอมทำตาม

เกิดอุบัติเหตุประกันไม่จ่าย จะให้ไปฟ้อง Uber เอาก็คงใช่ที่อ่ะนะ

ปล. เอาสั้นๆ ผมเห็นด้วยและชอบ Uber แต่อยากให้ทำซะให้ถูกกฏหมายครับ ไม่อย่างนั้นถ้าผมใช้บริการก็ถือว่าผมสนับสนุนให้ Uber ละเมิดกฏหมายที่จะกลายมาเป็นความเสี่ยงให้กับคนในประเทศของเราเอง (และนักท่องเที่ยว / ชาวต่างชาติที่อาศัยในประเทศเรา)

แก่นของกฎหมายอันนี้มีไว้เพื่อช่วยประชาชนจากความเสี่ยงต่างๆครับ

การที่รัฐบังคับให้ Uber ทำให้ถูกกฎหมาย ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่างๆของผู้ใช้ลง แล้วมีคนบอกว่ารัฐป่วยนี่ ผมว่าคนที่พูด...

กฎหมายบางข้อมันต้องแก้ครับ แต่กฎหมายที่เป็นประเด็นหลักคือใบอนุญาตกับประเภทรถ(ที่ไม่ใช่ด้านควบคุมราคา)นี่มันดีอยู่แล้ว ประเด็นคือเบื้องหลังการคุยระหว่างรัฐกับ Uber เป็นยังไงมากกว่า ซึ่งจากท่าทีของ Uber แล้วยังไงก็ไม่ยอมทำตามสองข้อหลักนี้แน่ๆเพราะต้องการจะลดต้นทุน เพิ่มจำนวนคนขับ(ไว้ต่อรองและแข่งขัน) และเอากำไร โดยไม่รับผิดชอบต่อสังคมแม้แต่น้อย

Uber รักคุณเท่าฟ้า

แก่นของกฏหมาย มันมีไว้ เพื่อควบคุม ปริมาณรถ และเก็บค่าธรรมเนียมครับ ไม่ใช่เพื่อความปลอดภัย (ความปลอดภัย นั้นเป็นส่ิงที่ พูดเพื่อให้ดูดี ไม่ใช่แก่นที่แท้จริง) ผมเข้าใจแบบนี้ และไม่ได้สนับสนุนให้ทำผิดกฏหมาย (เหมือนจะเข้าใจแบบนี้) แต่สนับสนุนให้แก้กฏหมายก่อนจับปรับ (เพราะคุณหยุดมันไม่ได้ มันเป็น disruptive innovation ถ้าไม่เข้าใจจุดนี้ มันก็จบตั้งแต่แรก) รัฐทุกประเทศ ต้องทบทวนกฏเรื่องรถเช่าทั้งระบบครับ (จริง ๆ เดี๋ยวมันก็เป็นไปเองตามธรรมชาติ หยุดมันไม่ได้หรอก เดี๋ยวทุกคนก็เข้าใจมันเอง และมันก็เป็นเรื่องปกติเอง ผมรับรอง อีกสัก 10 ปี คนก็ไม่คุยเรื่องนี้กันแล้ว และบริการแบบ uber ก็ยังคงอยู่ แค่หวังว่าคงไม่ได้มีอยู่เจ้าเดียว)

ผมว่าคุณเพ้อเจอ ที่ว่ารัฐทุกประเทศ ต้องทบทวนกฏเรื่องรถเช่าทั้งระบบ
ตอนนี้ประเทศมากมายฟ้อง Uber ทำผิดกฏหมาย ไม่เห็นมีประเทศไหนมีท่าทีเปลี่ยนกฏหมายเพื่อ
ให้สอดรับกับ ธุรกิจของ Uber

เพิ่มเติมอีกนิด ประเด็นหลักที่ผิดกฏหมาย น่าจะเป็นเรื่อง รถป้ายดำ รับคน ซึ่งถ้าเป็นรถเช่าต้องเปลี่ยนสีป้าย ประเด็นนี้ บางทีก็ต้องทบทวน ว่ามันเกิดประโยชน์อะไร ในการเปลี่ยนสีป้าย คือ ทุกประเด็นมันต้องทบทวนทั้งหมด รวมทั้งอนาเขตการรับคน เช่นรับได้เฉพาะสนามบิน ทำไมต้องมี และมีกลุ่มผลประโยชน์ใดบ้าง ได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์ (การมาของ uber มันทำลายธุรกิจรถเช่าแบบเก่าทั้งหมด ตามความเห็นผม รัฐ ไม่ควรจะยื้อยุด ปกป้องธุรกิจรถเช่าเดิมไว้ เพราะมันเป็นไปไม่ได้ รัฐควรหาทาง ไปกับ uber ทางออกอีกทางที่เห็นทำอยู่คือ รัฐทำ app ซึ่งก็เป็นทางออกที่ดี)

จะมีเรื่องความปลอดภัยของผู้โดยสารเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยครับ

ทะเบียนแต่ละสีมีน้ำหนักบรรทุกที่ต่างกัน และมีการทำประกันต่อผู้โดยสารที่ต่างกันด้วย

นอกจากนั้นก็เป็นเรื่องของการ "คืนแก่สังคม" หรือภาษีนั่นแหละ เพราะรถโดยสารมีน้ำหนักบรรทุกที่สูงกว่า ใช้ทรัพย์สินสาธารณะเยอะกว่า (ตามหลักพิจารณาของใครก็ไม่รู้) ก็ต้องจ่ายภาษีเยอะกว่าครับ

อันนี้ผมว่าคุณแนวคิดดี แต่ยังไม่ได้ศึกษากฏหมายที่เกี่ยวข้องมา มันเลยเป็นการ "ถูกใจแต่ผิดกฏหมาย" ครับ

ตัวผมเองถูกใจกับบริการ Uber นะ แต่ถ้ามันผิดกฏหมายผมก็อยากให้จัดการให้ถูกต้อง แค่นั้นก็จบ ทุกคนผายมือรับอยู่แล้ว ไม่มีอะไรที่จำเป็นต้องออกโรงปกป้อง Uber เลยครับ

ผมไม่ได้ออกโรงปกป้อง เพียงแต่มีความเห็นแบบนี้ ว่ามันหยุดไม่ได้ แน่นอนมันเหมือนเข้าข้าง uber แต่ความเห็นผมก็เป็นแบบนี้ ส่วนเรื่องกฏหมาย ผมก็ยังมีความเห็นเหมือนเดิม "ผมไม่ได้สนับสนุนให้ทำผิดกฏหมาย แต่สนับสนุนให้แก้กฏก่อนจับปรับ" ถ้าไม่เข้าใจ ผมก็ไม่รู้จะอธิบายยังไงต่อ ที่คุยมามีประเด็นเดียว ซึ่งผมเข้าใจคุณนะ คือ ไม่ว่าใครก็ทำผิดกฏหมายไม่ได้ นี่คือความคิดคุณ (ซึ่งไม่ใช่ทุกคนคิดแบบนี้ ผมก็อธิบายด้วยเรื่อง ไดเวอร์เจ้นท์อยู่ดี คือคนในสังคมมีหลายแบบ คุณจะใช้แค่มุมมองทางกฏหมายมาตัดสินเรื่องต่าง ๆ คุณมองแคบไป แก้ปัญหาไม่ได้ การใช้กฏอย่างเข้มงวด สำหรับเรื่องนี้ ปัญหาที่ตามมาคือ ส่วย uber ลองคิดดูให้ดี)

มันขัดกับตอนแรกที่บอกว่า "ตัวตัดสินคือตลาด" นี่แหละครับ แล้วอีกอย่างนึงก็ตรงที่ไม่ได้เห็นประโยชน์ว่ากฏหมายมันเป็นตัวช่วยให้ลดความเสี่ยงต่อผู้โดยสาร/ผู้ใช้บริการเอง

ตรงนี้ที่คุณพูดไปด้านบนเป็นการเอา 2 ประเด็นมายำรวมกัน ประเด็นมี 2 ประเด็นครับต้องแยกให้ขาด

  1. กฏหมาย
  2. บริการ / ความต้องการของตลาด

แน่นอนว่าสิ่งที่จะทำให้เจ๊ง หรือไม่เจ๊งคือตลาด ตรงนี้ผมก็เห็นด้วยว่ามันหยุดไม่ได้ เพราะตลาดยังมีความต้องการ แต่ที่คุณกล่าวเอาไว้ในเม้นแรกเริ่ม ทุกคนอ่านแล้วเข้าใจคุณว่า "มันจะถูกกฏหมาย มันจะได้ไปต่อหรือไม่ ตลาดเป็นตัวตัดสิน ถึงแม้จะผิดกฏหมายก็เถอะ"

ทุกคนก็เลยพยายามจะบอกว่า มันผิดกฏหมายนะ ไปทำให้ถูกซะก่อนแล้วมาบริการ แต่คุณก็พยายามบอกว่ากฏหมายมันล้าหลังต้องปรับปรุงกฏหมาย อีก 10 ปีข้างหน้าคนก็ไม่คุยเรื่องนี้ ฯลฯ ซึ่งตัวผมเองไม่แน่ใจนะ ว่าคุณพยายามจะชี้ให้เห็นว่าอีก 10 ปีข้างหน้ากฏหมายมันจะหลวมกว่านี้หรือมันจะเข้มกว่านี้

แต่ผมเห็นด้วยกฏหมายตรงนี้ล้าหลังจริงครับ กฏหมายที่จะมาใช้กับบริการแบบ Uber ควรจะเข้มงวดกว่านี้ด้วยซ้ำ ข้อมูลออนไลน์มันถูกเปลี่ยนแปลงได้ มันปลอมแปลงได้ แล้ว Uber ก็เก็บข้อมูลของเราไปเยอะมากๆ (ตามข่าวอ่ะนะ) ถ้ากฏหมายใน 10 ปีหน้าผมเชื่อว่าถ้า Uber เก็บข้อมูลเยอะแยะขนาดนี้ รับรองว่าโดนฟ้องแน่ๆ ครับ

คุณก็เข้าใจผมถูกแล้ว ไม่ว่ามันจะถูกหรือผิดกฏหมายตอนนี้ ตลาดเป็นตัวตัดสิน โดยที่ เมื่อคนมีความต้องการ ก็จะผลักดันไปแก้กฏหมายเองและในที่สุดมันจะถูกกฏหมาย แต่ต้องใช้เวลา (ผมไม่เห็นด้วยที่ต้องรอกฏหมายให้แก้เสร็จ ถึงค่อยให้บริการ อยู่ที่ผู้ให้บริการ ยอมรับความเสี่ยงเอง (คือมันผิดธรรมชาติ กฏหมาย มันมาทีหลัง หลังจากเกิดปัญหา ยังไม่มี uber ก็ยังไม่เกิดปัญหา แล้วจะรู้ได้ยังไงว่าต้องแก้กฏหมายยังไง มันต้องลองใช้พักนึงก่อน พอเกิดปัญหาแล้วค่อยแก้กฏตาม) ที่ไม่เห็นด้วยกับการจับปรับคือ ในระหว่างที่ ยังไม่รู้ว่าจะจัดการยังไงกับ uber ก็ไม่ควรบังคับใช้กฏหมายข้างเคียง เพื่อให้ uber หยุดให้บริการ ช่วงนี้ ควรเป็นช่วงที่ทำการตกลงกันให้เรียบร้อย และอนุโลม การใช้กฏ นี่คือสิ่งที่สื่อ (ปล ผมไม่ได้ทำงานอยู่ uber ไม่ได้ขับรถ uber ไม่ได้เชีย แต่คิดแบบนี้ ในฐานนะที่เป็นคนสายนี้ uber ไม่ใช่บริการเดียวแน่ที่จะเจอปัญหา ผมเชื่อว่า ยังมีอีกหลายบริการทาง it ที่จะเจอปัญหาแบบเดียวกับ uber) แต่เข้าใจว่าที่ uber มันดูอันตราย เพราะมันจะทำลาย ธุรกิจรถ แท๊กซี่ทั้งหมด เพราะมันเป็นแบบนั้น

เค้าไม่ใช่ว่าไม่รู้จะจัดการยังไง หรือหาวิธีปราบ หรือหาวิธีกำจัดครับ

ก็ Uber มันดัง และเค้าก็รู้ว่ามันทำผิดกฏหมาย ผิดแบบโดยตรงเลยคือเอารถส่วนบุคคลมาให้บริการ ผิดตรงๆ ตามกฏหมายและข้อบังคับของกรมขนส่งทางบก

ถ้าคุณยังไม่ยอมรับว่ามันผิดกฏหมายก็คงกลายเป็นว่าเราคงคุยกันไม่รู้เรื่องแล้วครับ

ตอนแรกบอกให้ทำๆ ไปเหอะ ตลาดตัดสิน

ตอนสองบอกไม่ได้สนับสนุนให้ทำผิดกฏหมาย (แสดงว่ามันผิดกฏหมาย)

ตอนหลังมาบอกว่ามันไม่ได้ผิดกฏหมายโดยตรง แต่ผิดกฏหมายข้างเคียง

ผมก็งงว่ากฏหมายข้างเคียงคืออะไร เพราะต่อให้มีการตรากฏหมายใหม่ขึ้นมา กฏหมายของขสทบ.ตัวที่บอกว่า รถต้องจดทะเบียนถูกต้องมันก็ยังมีอยู่ เพราะประกันมันจะไม่รับผิดชอบถ้าใช้รถผิดประเภท แถมคนขับก็ไม่มีใบขับขี่สาธารณะอีกต่างหาก

ผมก็ยังนึกไม่ออกว่ากฏหมายในอนาคตที่คุณต้องการสื่อมันคืออะไร เห็นพูดซ้ำๆ มานานแล้วว่าอีก 10 ปีจะมีกฏหมายรองรับ กฏหมายอะไร พูดเลยครับ ผมเองก็อยากฟังว่ากฏหมายมันจะหละหลวมมากกว่านี้หรือยังไง

จริงๆเรามองต่างกับเค้าตั้งแต่แรกแล้วครับ

สำหรับเค้ากฎหมายตัวนี้มีไว้เพียงเพื่อกีดกั้น Uber@"แก่นของกฏหมาย มันมีไว้ เพื่อควบคุม ปริมาณรถ และเก็บค่าธรรมเนียมครับ"

สำหรับเรากฎหมายตัวนี้มีไว้เพื่อลดความเสี่ยงเรา เป็นผลประโยชน์กับเรา

ขอแนะนำว่าหยุดดีกว่าหล่ะครับ...

คุณเป็นใครมาบอกให้ผมหยุด #ผิด

ผมก็แค่อยากฟังน่ะครับ ว่ากฏหมายอะไรที่จะออกมาอุ้มชูบริการแนว Uber แต่ได้ฟังแล้วก็นะ ...

อีกอ 10 ปีผมอาจจะผิดตามที่เค้าบอกก็ได้ แต่ความคิดตอนนี้ยังไงผมก็ไม่เชื่ออ่ะ

การทำใบขับขี่สาธารณะ อาจไม่จำเป็น การแยกประเภทรถ อาจไม่จำเป็น การเปลี่ยนสีป้ายทะเบียน อาจไม่จำเป็น (เมื่อถึงเวลา รถและคนขับทั้งหมด จะถูกควบคุมด้วยฐานข้อมูลส่วนกลาง) สิ่งที่ uber ทำคือ ทำให้ไม่สามารถแยกรถบ้าน กับรถสาธารณะได้ (มันเป็นการทำลายล้างระบบเดิม คำถามคือ มันควรแยกหรือไม่แยก เพราะ uber ทำให้คนขับรถทุกคนเป็นคนขับแท๊กซี่ได้หมด แค่สมัคร uber มันง่ายถึงขนาดที่จะไปขับหาตังเป็นงานอดิเรก) ทั้งหมดนี้ ผมว่าไม่เกียวกับประกันภัย เพราะสมมุติถ้าจะเอาแบบนี้ ก็แก้กฏหมายตามมา มันขึ้นอยู่กับ รัฐ และ uber ต้องตกลงกัน (เรื่องความปลอดภัย มันไม่เกี่ยวตั้งแต่แรก เพราะทุกอย่าง มันจะถูกควบคุมด้วย ฐานข้อมูลของ uber เอง พูดง่าย ๆ ความปลอดภัยมันน่าจะเท่าเดิม หรือดีกว่าเดิม ถ้า uber ดูแลดี) ผมเห็นแบบนี้ ไม่รู้ตอบคำถาม ครบหรือยัง

ตอบคำถามครบแล้วครับ ก็คือคุณบอกว่าใช้กฏหมายบังคับให้ Uber เป็นผู้จ่ายค่าเสียหายในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ

อันนี้ความเห็นผม ... ยังไงๆ Uber ก็ต้องใช้ประกันภัยครับ และผมไม่เชื่อว่าจะมีกฏหมายอะไรที่บังคับให้การจ่ายเงินแก่ผู้ใช้บริการ ต้องเป็นเงินของบริษัทผู้ให้บริการเท่านั้น

แล้วประกันภัยมันจะมีสูตรวิเคราะห์ความเสี่ยง แล้วการเป็นรถสาธารณะกับรถส่วนบุคคลก็มีความเสี่ยงต่างกัน และเป็นปัจจัยในการคำนวณสูตรนั้นๆ ด้วย

ตรงจุดนี้ความเห็นผมบอกได้เลยว่า ประกันภัยเกี่ยว กฏหมายเกี่ยว ครับ จบแล้ว

leonoinoi Sat, 12/13/2014 - 09:47

In reply to by PaPaSEK

เกี่ยว แต่มันก็คำนวนสูตรใหม่ได้ และก็แก้กฏใหม่ได้ เสียเบี้ยประกันในอัตราใหม่ได้ มันจึงไม่มีส่วนสำคัญในการตัดสินใจ นี่คือความหมายของคำว่าไม่เกี่ยวของผม

ถ้าคำนวณสูตรใหม่ก็แสดงว่ารถต้องกลายเป็นรถที่จดทะเบียนแบบรถสาธารณะอ่ะครับ คือประกันภัยมันมีบอกด้วยว่าต้องเป็นไปตามกฏหมาย

ซึ่งก็กฏหมายตัวเดิม แล้วไงต่ออ่ะ คือผมว่าความต้องการมันได้ครับ แต่หลักการกับวิชาการที่คุณเอามาโต้แย้งมันเป็นไปไม่ได้ แถมมันจะมาสนับสนุนหลักการทางฝั่งผมอีกต่างหาก

ตกลงว่าเราไม่ได้เห็นต่างกัน แต่คิดเหมือนกัน?

ผมไม่รู้ ผมไม่เคยทำประกัน แต่ผมบอกได้ว่า uber มันไม่ใช่ทั้งรถสาธารณะ และส่วนตัว (มันไม่มีเส้นแบ่งนั้น อีกแล้ว) มันจะมีในกรณีที่ สมมุติ วันธรรมดา ผมทำงาน เสาร์อาทิตย์ขับ uber คำถามคือ ผมจำเป็นมั้ยที่จะต้อง เอาบีเอ็ม หรือ เบนส์ผม ไปใส่ป้ายเหลือง ติดโป๊ะแท๊กซี่ (คือประกันภัย ถ้าเห็นว่าสำคัญ เขาก็ต้องทำประกันภัยเฉพาะสำหรับ uber ออกมา)

เพิ่มเติม ในบล๊อกนันนี้ ไม่แปลก ที่จะมีคนมองโลกด้านเดียว เยอะมาก ที่สิ่งที่ผมอยากแนะนำคือ ควรมองโลกในด้านอื่นด้วย ไม่งั้นความคิดคุณจะแคบ แนะนำหนังเรื่อง ไดเวอร์เจนท์ คือ กรอบคิดของคนในเรื่องมีอยู่ 5 แบบ ในความจริงอาจมีมากกว่านั้น ซึ่งการที่คุณจำกัดตัวเองใช้แต่มุมมองทางกฏหมายอย่างเดียว มาตัดสินเรื่องต่าง ๆ มันแคบไป ควรจะมองในมุมอื่น ๆ ด้วย (กฏหมาย มันเหมือนคอมพิวเตอร์ มันเป็นตรรกะ เข้าใจ เพราะแต่ก่อนผมก็มองแบบเดียวกับคุณ)

เอิ่มมมมม....

คนอื่นคิดไม่เหมือนตัวเองนี่ตัวเองความคิดนอกกรอบ คนอื่นความคิดในกรอบ/ความคิดแคบกันเลยทีเดียว...

ก็ผมอธิบายเรื่องนี้ซ้ำไปซ้ำมา หลายรอบ คุณก็ถูกในแง่กฏหมาย ทุกคนต้องคิดแบบนั้นผมก็คิดแบบนั้น แต่ผมไม่ได้มองแค่กฏหมาย ผมมองมุมอื่น ๆ ด้วย ถ้าคุณคิดแค่แบบเดียวจริง ผิดกฏหมายคือผิด คุณก็ต้องยอมรับละครับว่าแคบ

นี่คือสรุปข้อความยาวๆที่ผมเขียนได้ว่า ผิดกฎหมายก็คือผิด?

โอเคครับ ตามสบายครับ มีปัญหาประกันไม่รับผิดชอบก็ให้ Uber ช่วยแทนละกันนะครับ

เบื้องหลังทุกรัฐ น่าจะโดนกดดันจากกลุ่มแท็กซี่ดั้งเดิม ซึ่งมีอำนาจต่อรองอยู่ในมือไม่น้อย

ไม่แฟร์ครับ
Taxi เมื่องนอกแถบ US , EU, UK ต้องสอบ แล้วซื้อ licensed แพงมากนะครับ
ไม่ใช่ ใครคิดจะขับ ก็ขับได้ เหมือนเมืองไทย แถมหลังๆ uber ใช้วิธี พูดทำนองว่า
กฏหมายมันเก่า ให้ทำลายมันซะ แล้วเลือกใช้งานเรา ถึงจะผิดกฏหมาย แต่ของเราดีกว่าอยู่แล้ว พี่น้องง

แทนที่จะคิดว่าจะทำยังไงให้ taxi ให้ระบบมันดี อย่างเปิด บ. มาแล้วไป รับทำระบบให้ สหกรณ์ taxi
เรียก taxi ได้ ให้คะแนนคนขับได้ ตรวจว่าคนขับ ขับรถของสหกรณ์คุณอย่างไร ซิ่งมั้ย ? ก็ได้
ตัดเงินผ่านบัตรก็ได้ แค่นี้ก็ รวยแล้ว ทำแบบนี้ ผมว่าไม่สร้างสรรค์ เอามากๆ
สมควรโดนครับ

+1 เคยอ่านของอังกฤษ แท็กซี่เวลาสอบผู้คุมสอบจะถามประมาณว่าถ้าเรียกจากจุด A จะไปจุด B คุณสามารถไปทางไหนได้บ้าง ประมาณว่าคนขับต้องรู้ถนนของเมืองที่จะไปทำใบขับขี่ด้วย ส่วนเมืองไทยน่ะเหรอ บอกเสร็จก็...น้องบอกทางพี่ด้วยนะ พี่เพิ่งมาขับได้ไม่กี่วัน ..... (ส่วนพวกรู้ทางก็ไปส่งรถก่อนแล้ว)

เคยดูรายการที่ คุณดำรง พุฒตาล เคยให้สัมภาษณ์ แกบอกว่าที่อังกฤษคนขับแทกซี่ต้องรู้ทุกตรอกซอกซอยสถานที่ แม้แต่ซอยสั้นแค่ไม่กี่เมตรเค้าก็รู้จัก เมื่อคุณโบกแท็กซี่แล้ว คุณแค่ขึ้นไปนั่งแล้วบอกสถานที่ เค้าจะไม่ถามคุณอีกเลยว่ามันอยู่ตรงไหน เพราะเค้าจะไปส่งคุณได้ถูกที่แน่นอน

benz3d Thu, 12/11/2014 - 10:15

ถ้า Uber ผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้นี่รวยเละเทะเลยแหละ ผมว่าแนวความคิดดีครับ เป็นการบริการขนส่งยุคใหม่ ยังสงสัยอยู่ว่าในบ้านเรา ทำไม Uber ไม่รับคนขับที่เขามี taxi อยู่แล้วนะ taxi เขียวเหลือง ที่เป็นส่วนบุคคลมีเยอะแยะ ถูกกฏหมายด้วย

Rickson Thu, 12/11/2014 - 17:06

In reply to by benz3d

ผมว่าถ้า Uber รอดจะไม่ใช่ว่ารวยเละเทะหรอกครับ เพราะ จะมีการเลียนแบบเข้ามาอีกเต็ม
แต่ที่จะเละคือระบบขนส่งมวลชนที่ไม่สามารถควบคุมได้ เพราะจะมีแท็กซี่ป้ายดำเต็มไปหมดโดยไม่มีการควบคุม
เพราะถ้าผ่าน Uber คนขับต้องเสียเงิน คนก็จะเอารถมาขับรับส่งคนบ้างโดยไม่ขึ้นกับอะไรเลย
โดยสามารถบอกได้ว่าเมื่อ Uber ทำได้ผมก็ทำได้นั่นแหละครับ (ใช้รถทะเบียนส่วนบุคคล และ ไม่มีใบอนุญาติขับขี่สาธารณะ)

ผมเห็นด้วยกับคุณครับ แต่มีความเห็นเพิ่มเติมว่า ในเมื่อบริการแบบ uber เป็นบริการที่สำคัญ ในที่สุด รัฐ ทุกประเทศ ก็จะทำเอง และผูกขาดและควบคุมโดยรัฐเหมือนเดิมครับ แนวโน้มน่าจะไปทางนี้ แค่ตอนนี้ รัฐปรับตัวไม่ทัน ยังไม่มีใครรู้ว่าสุดท้ายแล้ว uber จะเปลี่ยนโลกไปได้ขนาดไหน ก็เท่านั้นเอง

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find Hub
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png
OneNote
public://topics-images/onenote.png
Windows App
public://topics-images/windows-app.png
Notion
public://topics-images/notion.png
Google Drive
public://topics-images/drive.png
YouTube Kids
public://topics-images/yt-kids.png
Gboard
public://topics-images/gboard.png
DeepSeek
public://topics-images/deepseek_logo.svg_.png
Prince of Persia
public://topics-images/prince-persia.png
Sony
public://topics-images/nq0nd2c0_400x400.jpg
Cisco
public://topics-images/jmyca1yn_400x400.jpg
Alibaba
public://topics-images/4axflwia_400x400.jpg
Alibaba Cloud
public://topics-images/qm43orjx_400x400_cloud.png
Coinbase
public://topics-images/consumer_wordmark.png
CarPlay
public://topics-images/carplay.png
Rust
public://topics-images/rust-logo-blk.png
Red Hat
public://topics-images/redhat.png
Anthropic
public://topics-images/anthropic.png
Xcode
public://topics-images/xcode.png
Tim Cook
public://topics-images/tim-cook.jpg
Donald Trump
public://topics-images/trump.jpg
Microsoft Surface
public://topics-images/surface.jpg
Copilot+ PC
public://topics-images/copilotpc.png
Stellar Blade
public://topics-images/stellar-blade.jpg
Snapdragon
public://topics-images/snapdragon_chip.png
Qualcomm
public://topics-images/qualcomm-logo.svg_.png
CoreWeave
public://topics-images/coreweave.png
Ford
public://topics-images/ford.png
Xiaomi
public://topics-images/xiaomi.png
Google Cloud
public://topics-images/google_cloud_logo.svg_.png
PlayStation Network
public://topics-images/psn.png
PlayStation Plus
public://topics-images/ps-plus.png
Windsurf
public://topics-images/windsurf.png
Square Enix
public://topics-images/square-enix.png
MIT
public://topics-images/x7hyjl3t_400x400.jpg
Zoox
public://topics-images/zoox.jpg
Evernote
public://topics-images/1neatidg_400x400.jpg
Magic the Gathering
public://topics-images/magic.png
Call of Duty
public://topics-images/cod.png
NVIDIA
public://topics-images/nvidia_logo.svg_.png
Satya Nadella
public://topics-images/nadella.png
Nintendo
public://topics-images/nintendo.png
Japan
public://topics-images/japan_flag.png
China
public://topics-images/china-flag-sq.png
Sam Altman
public://topics-images/sam-altman.png
SNK
public://topics-images/snk_logo.svg_.png
EPYC
public://topics-images/epyc.png
HPE
public://topics-images/hpe.png
Juniper
public://topics-images/juniper.png
CMA
public://topics-images/cma.png
App Store
public://topics-images/app-store.png
DoJ
public://topics-images/doj.png
Siri
public://topics-images/siri.png
Apple Intelligence
public://topics-images/apple-intelligence.png
Acer
public://topics-images/acer.png
GeForce
public://topics-images/geforce.png
Omen
public://topics-images/omen.png
HP
public://topics-images/hp.png
Alienware
public://topics-images/alienware.png
Dell
public://topics-images/dell.png
Bungie
public://topics-images/bungie.png
Marathon
public://topics-images/marathon.png
Lenovo
public://topics-images/lenovo-2015-svg.png
Intel Arc
public://topics-images/badge-arc-graphics.png
GitHub
public://topics-images/8zfrryja_400x400.png
GitHub Copilot
public://topics-images/copilot.png
Foxconn
public://topics-images/foxconn_0.png
Visual Studio
public://topics-images/vs.png
Visual Studio Code
public://topics-images/vscode.png
WSL
public://topics-images/wsl.png
Linux
public://topics-images/linux.png
Tencent
public://topics-images/tencent_logo_2017.svg_.png
Entra
public://topics-images/microsoft_entra_id_color_icon.svg_.png
RHEL
public://topics-images/rhel-icon.png
MSI
public://topics-images/msi-logo-for_digital_use_b.png
MCP
public://topics-images/mcp.png
Docker
public://topics-images/docker.png
RISC-V
public://topics-images/risc-v-logo.svg_.png
Fedora
public://topics-images/fedora.png
ASUS
public://topics-images/asus.png
ROG
public://topics-images/rog-logo_red.png
Naughty Dog
public://topics-images/naughty-dog.png
AIS
public://topics-images/357073423_657473419752809_8491928084596189631_n.png
National Telecom
public://topics-images/nt.jpg
Elon Musk
public://topics-images/elon_musk_2015_0.jpg
OpenShift
public://topics-images/openshift-logotype.svg-0.png
Shift Up
public://topics-images/shiftup.png
Bethesda
public://topics-images/bethesda.png
The Elder Scrolls
public://topics-images/tes.png
CATL
public://topics-images/img_7841.png
Radeon
public://topics-images/radeon.png
Waymo
public://topics-images/waymo.jpg
Borderlands
public://topics-images/borderlands4.png
Android XR
public://topics-images/android-xr.png
Ninja Theory
public://topics-images/ninja.jpg