Thailand

ผู้อ่าน Blognone ส่วนมากคงใช้ธนาคารผ่านออนไลน์เป็นหลักมากกว่าการถือสมุดบัญชีไปยังธนาคารกันเป็นปกติ แต่สำหรับ ME by TMB เป็น Electronic Banking ที่พิเศษกว่าบริการอื่นๆ ที่เคยมีมาก่อนหน้านี้ เพราะความคิดที่จะให้จัดการบัญชีอยู่บนระบบออนไลน์ทั้งหมด ลดต้นทุนที่ไม่ได้ประโยชน์โดยตรงต่อลูกค้า อย่างการตั้งสาขา และจำนวนพนักงานให้บริการ ทำให้สามารถนำต้นทุนเหล่านั้นมาจ่ายเป็นดอกเบี้ยต่อลูกค้าโดยตรง

ME by TMB เป็น Electronic Banking ที่เน้นการทำธุรกรรมผ่านออนไลน์ทั้งหมด มีเพียงกรณีเดียวเท่านั้นที่เราต้องติดต่อธนาคาร คือการนำเอกสารไปเพื่อยืนยันตนที่ ME Place ในครั้งแรกเท่านั้น สำหรับที่ตั้งของ ME Place สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่นี่ หลังจากนั้นการฝาก - ถอนเงินก็สามารถทำผ่านทางเว็บได้ทั้งหมด หรือจะติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมก็มีช่องทางหลากหลายเช่น Call Center 0 2502 0000 หรือจะถามผ่านทาง Web Chat ก็สามารถทำได้เช่นกัน โดยทั้ง 2 ช่องทางนี้พร้อมให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง

การนำเงินเข้าออกจากบัญชี ME by TMB นั้นจะสามารถนำเข้าออกผ่านบัญชีของเราเองเท่านั้น โดยเมื่อเรายื่นเอกสารเปิดบัญชีครั้งแรก เราต้องนำสมุดบัญชีไปยื่นแสดงหลักฐานที่ ME Place เพื่อยืนยันว่าบัญชีนี้เป็นของเราจริง โดยสามารถผูกบัญชีได้สูงสุด 3 บัญชี และหากเปลี่ยนแปลงต้องไปยืนยันซ้ำที่ ME Place เพื่อป้องกันแฮกเกอร์หรือคนร้ายนำเงินออกไปจากบัญชีของเรา

การนำเงินเข้ายังบัญชี ME by TMB จะต้องอาศัยการโอนจากบัญชีธนาคารใดก็ได้ หรือจากบัญชีผู้อื่นก็ได้ หากการโอนจากธนาคารอื่นมีค่าใช้จ่ายและแพงเกินไป ก็ยังสามารถฝากผ่านตู้ ADM ของธนาคารทหารไทยได้ แต่ในการถอนนั้น ผู้ใช้งานสามารถถอนผ่านการโอนเงินได้ทุกวัน โดยโอนเข้าไปยังบัญชีธนาคารทหารไทยของตัวเองโดยไม่เสียค่าธรรมเนียม และแม้ว่าจะโอนไปยังบัญชีตัวเองต่างธนาคาร ก็ยังทำได้ฟรีสองครั้งต่อเดือน โดยเลือกรายการ “การโอนในวันถัดไป”

ด้วยดอกเบี้ยที่สูงกว่าธนาคารปกติถึง 4 เท่าตัว (4 เท่าเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 0.75% ของเงินฝากประเภทออมทรัพย์ทั่วไปในตลาด ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2555 อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 3% ต่อปี เงื่อนไขเป็นไปตามประกาศธนาคารฯ) ภายใต้อัตราเงินฝากปัจจุบัน หากมีเงินฝากสักหนึ่งแสนบาทก็สร้างดอกเบี้ยได้มากกว่าการฝากออมทรัพย์กว่าสองพันบาท ทำให้บริการนี้เหมาะจะใช้แทนที่บริการฝากประจำสำหรับคนที่ถือเงินสดไว้และยังไม่ต้องการนำไปลงทุนที่อื่น ความได้เปรียบเหนือการฝากประจำอยู่ที่การฝากถอนที่ทำได้ตลอดเวลา ดอกเบี้ยที่คิดให้ทุกวันแม้มีการเคลื่อนไหวบัญชีบ่อยๆ และการโอนที่ฟรีสองเดือนต่อครั้งสำหรับทุกๆ ธนาคาร ยิ่งถ้ามีบัญชีของธนาคารทหารไทยอยู่ยิ่งสามารถโอนได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง การโอนเงินเข้าออกเช่นนี้ไม่มีขั้นต่ำในการรักษาสภาพของบัญชีแต่อย่างใด หากเราต้องการใช้เงินก็สามารถโอนออกได้จนหมด แล้วจึงโอนเงินเข้าอีกครั้งเมื่อมีเงินเก็บได้

สำหรับความปลอดภัย ระดับพื้นฐานที่สุด ME by TMB ให้บริการผ่านเว็บเข้ารหัสด้วย SSL ทั้งหมด ไม่ว่าเราจะล็อกอินอยู่หรือไม่ นับว่าใส่ใจต่อความปลอดภัยเบื้องต้นเป็นอย่างดี ตัวเว็บสำหรับให้บริการข้อมูล (www.mebytmb.com) แยกออกจากตัวเว็บที่ใช้ทำธุรกรรม (secure.mebytmb.com) การตั้งรหัสผ่านนั้นกำหนดไว้ขั้นต่ำถึง 10 ตัวอักษร เพื่อความปลอดภัยของตัวผู้ใช้เอง และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลทั้งหมด ก็ต้องยืนยันผ่านรหัสผ่านแบบใช้ครั้งเดียว (One Time Password - OTP) ก่อนเสมอ ก่อนจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลใดๆ ด้วยระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวด จึงมั่นใจได้ถึงความปลอดภัยของบัญชี

เนื่องจาก ME by TMB ถูกออกแบบให้เป็นที่เก็บเงินของเราและใช้การจัดการออนไลน์ การโอนเงินออกนั้นจะต้องเป็นบัญชีชื่อของเราเองเท่านั้น กระบวนการแบบนี้ทำให้ความเสี่ยงที่ด้านความปลอดภัยลดลงมาก หากเจอมัลแวร์ที่พยายามโอนเงินออกไปเช่นธนาคารอื่นๆ ก็จะโอนได้แค่บัญชีของเราเองเท่านั้น การจะเจาะให้โอนเงินออกไปจากบัญชีของเราได้จึงต้องโอนถึงสองชั้น

ดอกเบี้ยที่สูง การใช้งานที่ไม่มีขั้นต่ำ ทำให้เราน่าจะลองใช้งาน ME by TMB เป็นอีกทางเลือกในการออมเงินกันครับ

<iframe width="640" height="360" src="https://www.youtube.com/embed/D_G7Ea7-l2U" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's company cover
CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's
CP AXTRA Lotus's is revolutionizing the retail industry as a Retail Tech company.
Token X company cover
Token X
Blockchain, ICO, Tokenization, Digital Assets, and Financial Service
Carmen Software company cover
Carmen Software
Hotel Financial Solutions
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd. company cover
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd.
We are web design with consulting & engineering services driven the future stronger and flexibility.
United Information Highway Co., Ltd. company cover
United Information Highway Co., Ltd.
UIH is Thailand’s leading Digital Infrastructure and Solution Provider for Business
KKP Dime company cover
KKP Dime
KKP Dime บริษัทในเครือเกียรตินาคินภัทร
Kiatnakin Phatra Financial Group company cover
Kiatnakin Phatra Financial Group
Financial Service
Fastwork Technologies company cover
Fastwork Technologies
Fastwork.co เว็บไซต์ที่รวบรวม ฟรีแลนซ์ มืออาชีพจากหลากหลายสายงานไว้ในที่เดียวกัน
Thoughtworks Thailand company cover
Thoughtworks Thailand
Thoughtworks เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโยลีระดับโลกที่คว้า Great Place to Work 3 ปีซ้อน
Iron Software company cover
Iron Software
Iron Software is an American company providing a suite of .NET libraries by engineer for engineers.
CLEVERSE company cover
CLEVERSE
Cleverse is a Venture Builder. Our team builds several tech companies.
Nipa Cloud company cover
Nipa Cloud
#1 OpenStack cloud provider in Thailand with our own data center and software platform.
CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
CIMB THAI Bank company cover
CIMB THAI Bank
MOVING FORWARD WITH YOU - CIMB is the leading ASEAN Bank
Bangkok Bank company cover
Bangkok Bank
Bangkok Bank is one of Southeast Asia's largest regional banks, a market leader in business banking
Gofive company cover
Gofive
“We create world-class software experience”
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group company cover
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group
KBTG - "The Technology Company for Digital Business Innovation"
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"
Icon Framework co.,Ltd. company cover
Icon Framework co.,Ltd.
Global Standard Platform for Real Estate แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร มาตรฐานระดับโลก
REFINITIV company cover
REFINITIV
The Financial and Risk business of Thomson Reuters is now Refinitiv
H LAB company cover
H LAB
Re-engineering healthcare systems through intelligent platforms and system design.
LTMH TECH company cover
LTMH TECH
LTMH TECH มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยพันธมิตรของเราให้บรรลุเป้าหมาย
Seven Peaks company cover
Seven Peaks
We Drive Digital Transformation
Wisesight (Thailand) Co., Ltd. company cover
Wisesight (Thailand) Co., Ltd.
The Best Choice For Handling Social Media · High Expertise in Social Data · Most Advanced and Secure
MOLOG Tech company cover
MOLOG Tech
We are Modern Logistic Platform, Specialize in WMS, OMS and TMS.
Data Wow Co.,Ltd company cover
Data Wow Co.,Ltd
We enable our clients to realize increased productivity by solving their most complex issues by Data
LINE Company Thailand company cover
LINE Company Thailand
LINE, the world's hottest mobile messaging platform, offers free text and voice messaging + Call
LINE MAN Wongnai company cover
LINE MAN Wongnai
Join our journey to becoming No.1 food platform in Thailand

หากเราต้องการใช้เงินก็สามารถโอนออกได้จนหมด แล้วจึงโอนเงินเข้าอีกครั้งเมื่อมีเงิบเก็บได้

เงิบ => เงิน

ผมก็เคยจะทำครับ แต่ติดที่ไม่สะดวกไป ME Place เพราะคิดดูแล้วจากเงินที่ผมจะฝาก หักลบค่าน้ำมันแล้วกว่าจะได้ค่าน้ำมันคืน หลายเดือนเลย

ทำไมหลาย ๆ คน คิดว่าการเก็บเงินในบัญชีออมทรัพย์ธรรมดา ถึงจะได้เงินดอกเยอะครับ ?
ถึงจะเป็น ME ก็เหอะ ก็เป็นเงินฝากธรรมดา

ผมว่าคนที่ทำธุรกรรมการเงินบน internet อยู่แล้ว
ควรจะผูกบัญชีเงินฝากของตัวเอง กับ บัญชีกองทุน

แล้วเอาเงินไปเก็บใน กองทุน Money Market หรือว่า กองทุนตราสารหนี้ระยะสั้น จะดีกว่า

เสนอเป็นทางเลือกครับ

ยังเก็บเงินในออมทรัพย์อยู่อีกหรือ ?

โดยผกติคงต้องบัญชีออมทรัพย์คู่กับบัญชีอื่นๆเพื่อการลงทุนอยู่แล้วแหละครับ
เพราะงั้นถ้าออมทรัพย์มันได้ดอกเบี้ยสูงขึ้นก็น่าลองออกนะฮะ :D

ความเสี่ยงคือการที่ได้ผลตอบแทนมากกว่า หรือน้อยกว่า ที่ระบุเอาไว้ โดยการฝากเงิน คือการลงทุนประเภทหนึ่ง ซึ่งธนาคารรับประกันผลตอบแทนครับ จริงๆ การฝากเงินก็มีความเสี่ยง แต่ก็อยู่ในกลุ่มการลงทุน ที่มีความเสี่ยงต่ำ เกิดธนาคารเจ็ง ขึ้นมาไม่สามารถจ่ายดอกเบี้ยได้ ก็ถือเป็นความเสี่ยงเหมือนกัน

ตามความเข้าใจของผม เรียงลำดับความเสี่ยงการลงทุนดังนี้

การฝากเงิน > การลงทุนในตราสารหนี้ (เช่นพันธบัตร) ภาครัฐ > การลงทุนในตราสารหนี้ (เช่นหุ้นกู้) ภาคเอกชน > การลงทุนในสินค้าโภคภันฑ์ ทอง น้ำมัน ฯลฯ (ในกลุ่มนี้แต่ละประเภทมีความเสี่ยง ไม่เท่ากัน)> การลงทุนในตราสารแห่งทุน (หุ้น) > การลงทุนในตราสารที่อ้างอิงกับตราสารในอนาคต เช่น พวก อนุพันธ์ (ฟิวเจอร์) > การลงทุนในต่างประเทศ

ถ้ามองความเสี่ยงเป็นแบบนั้นทุกอย่างก็เสี่ยงไปหมดแหละครับ ผมไม่ได้ไม่เห็นด้วยนะ แต่รู้สึกว่ามันสุดโต่งไปหน่อย คือถ้าความเสี่ยงมันน้อยมาก (ธนาคารเจ๊ง) ก็ถือเสียว่าไม่มีความเสี่ยงไปเลยดีกว่า อย่างน้อยก็ในความรู้สึกของคนทั่ว ๆ ไป เขาจะรู้สึกว่าการฝากเงินไว้กับธนาคารมันต้องได้ดอกเบี้ยแน่ ๆ

และถ้าเข้าไปอ่านบทความตามลิงค์ข้างล่าง จะเห็นว่ามีวิธีพิจารณาซื้อกองทุนอยู่ 3-4 ข้อ การที่เราต้องพิจารณาอะไรซักอย่าง (ที่มีผลกระทบโดยตรงต่อผลตอบแทน) นั่นแปลว่ามีความเสี่ยงแล้วล่ะครับ ชาวบ้านตาสีตาสาทั่วไปคงไม่มีใครอยากจะศึกษามากขนาดนั้น อย่างมากเขาก็แค่ดูว่าธนาคารไหนให้ดอกเบี้ยมากกว่า (เผลอ ๆ ไม่ดูด้วย เพราะดอกแต่ละธนาคารมันไม่ได้ต่างกันมาก) ใกล้บ้านกว่า ตู้ ATM มีให้กดใกล้มากกว่า

การฝากเงิน ก็คือ การเอาเงินไปฝาก ... ก็คือไปเอาคืนได้โดยที่มันไม่หายไปไหน ในความเป็นจริงก็อาจจะไม่จริงซะทีเดียว เพราะว่าปัจจุบันเรามีการประกันเงินฝากแค่วงเงินต่ำกว่า...ไม่กี่ล้าน (ลืมแล้วว่าเท่าไหร่) เท่านั้นเอง การฝากเงินไม่ใช่การลงทุน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการเพิ่มเงินที่ฝาก แค่ว่าธนาคารใช้ดอกเบี้ยเป็นแรงจูงใจให้คนเอาเงินไปฝาก เหมือนเป็นการตอบแทนที่เอาเงินไปกองไว้กับเขา (ซึ่งเขาก็จะเอาเงินเราไปหมุนทำอะไรสักอย่างเหมือนกัน แต่ว่า เราจะเห็นแค่ว่าเงินเรามีอยู่ไม่หายไปไหน และถ้าเขาทำกำไรได้จากเงินของเราเขาก็จะไม่เอามาจ่ายเรา)

การลงทุน ก็คือ การเอาเงินไปให้คนอื่นใช้ เมื่อใช้แล้วได้กำไรเท่าไหร่ก็เอามาคืน ไม่ว่าจะเป็นหุ้น หรือกองทุนก็เหมือนกัน มันมีโอกาสที่เงินที่เราลงทุนไปตอนแรกจะสูญ และก็เป็นไปได้ที่ว่าเงินมันจะเพิ่มขึ้นจากการลงทุน อันนี้คือความเสี่ยงของการลงทุน

การลงทุนกับกองทุนเป็นการกระจาย/ลดความเสี่ยงอย่างหนึ่งโดยการเลือกให้คนที่มีประสพการณ์และมีความรู้ความสามารถในการลงทุนเป็นคนเลือกที่จะเอาเงินของเราไปกระจายเงินลงสู่แหล่งลงทุนหลาย ๆ แหล่ง อาจจะเป็นหุ้น ตราสารหนี้ และอื่น ๆ แต่มันไม่ได้หมายความว่าเงินเราจะมีแต่เพิ่ม ๆๆ อย่างเดียว สมมติว่ามีกองทุน A ดันเอาเงินเราไปลงทุนหุ้นของ Facebook ที่เปิดที่ $45 แล้วผ่านไปเดือนนึงหุ้นก็ร่วงๆๆๆ เหลือแค่ $19.50 (ราคาวันนี้เลยมั้ง ไม่แน่ใจ) ก็เท่ากับว่าเงินเราก็สูญไปกับส่วนของ FB อย่างเดียวประมาณ 50% เมื่อกระจายๆ กันแล้วก็ลดไปประมาณ 5% ได้ กองทุนนึงลงทุนกับหุ้นหลาย ๆ ตัวอยู่แล้ว แต่เงินฝากไม่มีการลดลงในจุดนี้

การเล่นกองทุนจริง ๆ ถ้าเล่นระยะยาว จะซื้อลืมก็ได้ (แต่ถ้าถอนออกมาบ่อย ๆ ก็จะโดนชาร์จเยอะ โดยเฉพาะพวก backend-load fund) หรือถ้าเล่นระยะสั้นก็อาจจะได้ผลตอบแทนดีกว่า แต่เราก็ต้องตามสถานการณ์วันต่อวัน ต่างกับพวกหุ้นที่ต้องตามรายชม. เพราะราคากองทุนจะอัพเดตทุกสิ้นวัน เงินฝากไม่ต้องมาตามอะไรเลย ไม่ต้องกังวลว่าราคาหน่วยจะขึ้นหรือลด เพราะมันไม่มี กังวลแค่จุดเดียวคือแบงค์ล้มละลาย ซึ่งก็มีการประกันเงินฝากมาคุ้มครองอีกต่ออีก (แต่อาจจะถอนเงินยากหน่อย แค่ไม่สูญแน่ ๆ) ความต่างอีกอย่างก็คือในขณะที่เงินฝากสามารถถอนได้ตลอดเวลา กองทุนจะต้องรอหนึ่งวันหลังจากขายก่อนที่จะได้เงิน เพราะว่าราคาจะออกตอนสิ้นวัน

ผมคิดว่า กองทุนควรเป็นเงินกองที่สอง นับจากเงินฝาก คือ เป็นเงินที่สามารถจ่ายได้ไม่มากังวลมากว่าวันนี้จะมีเงินเหลือกินหรือเปล่า ในความเป็นจริงกองทุนมีความเสี่ยงต่ำกว่าหุ้นมาก เพราะว่ามีการกระจายความเสี่ยง (ดูกรณี FB ข้างบนก็ได้ ถ้าเอาเงินทั้งหมดไปลงกับ FB ตัวเดียวนี่เงินหายไปกว่าครึ่งเลย) และคนที่เอาเงินไปลงทุน (หรือผู้จัดการกองทุน) เป็นนักลงทุนกลุ่มสถาบันที่มีความรู้ความสามารถมากกว่าตาสีตาสาพนักงานบริษัททั่วไป และทำงานตรงนี้เป็นอาชีพ (ในขณะที่ถ้าเราลงไปลงทุนจริงจังกับหุ้นเองอาจจะถูกไล่ออกได้ง่าย ๆ เพราะหุ้นต้องตามข่าวรายชม. งานการไม่ต้องทำพอดี) ดังนั้นเราอาจจะลงทุนตรงนี้ได้ค่อนข้างสบายใจ แต่ถ้าชะล่าใจไปหรือไม่ระวังเงินที่ลงไปก็อาจจะสูญได้ (นึกสถาพตอนเราซื้อตอนกองทุนมัน peak แล้วก็ร่วงเอา ๆ กลายเป็นเด็กดอย ...)

ผมพอมีความรู้บ้างเพราะว่างานที่ทำตอนนี้เป็นระบบ Mutual Fund ของต่างประเทศ (Canada, Europe) น่ะครับ แต่ถามว่ารู้ลึกแค่ไหนก็ไม่ลึกหรอก เพราะไม่ได้ลงทุนเอง (ถ้าไม่นับ Provident Fund นะ) ปีหน้าผมมีแผนจะเริ่มลงทุนตรงนี้บ้างเหมือนกัน แต่คงต้องรอกลับไทยก่อน

ปล. พี่สาวผม (ซึ่งพอดีเป็น broker ทำงานกับพวกซื้อขายเงินตราต่างประเทศในแบงค์) เคยพูดบอกผมว่าอย่าไปเล่นหุ้นตราบใดที่ไม่มีเวลาติดตามข่าวสารเป็นรายนาทีได้ ไม่งั้นก็เงินสูญหมด เขาบอกว่าเขาตลกทุกครั้งที่เห็นคนพูดเรื่องหุ้นเหมือนตาแก่คุยกันโล้งเล้ง ๆ ในโรงน้ำชา ผมว่ามันก็เหมือนจริง ๆ น่ะล่ะ เห็นเพื่อนๆ ผมคุยกันในที่ทำงานผมยังตลกเลย (มีคนที่เล่นเก่งจริง ๆ จัง ๆ คนนึง ในขณะที่คนกลุ่มใหญ่เจ๊งเอา ๆ) อ้อ อาเจ๊ผมเคยทำยอดสูงสุดในตลาดหุ้นจำลองตอนเขาเรียนอยู่ต่างประเทศด้วยนะ!

หุ้นไม่ให้การเล่นนะครับ คนไทยเจ๊งกันเพราะไปเล่นกันซะมาก
เช้าซื้อเย็นขาย วิ่งหาข่าวลือกันทั้งวัน ตัวไหนจะปั่น ตัวไหนจะขึ้น

หุ้นในตลาดมี 500 กว่าตัว

หุ้นดี ๆ ก็มีมากครับ ถ้าลงทุนในระยะยาว นี่พูดถึงระดับ 5 - 10 ปีขึ้น
ยังไงก็ชนะทุกการลงทุนที่มี

ประเทศไทยมีการออมที่สูงเกินไปแล้วครับ
แต่มีการลงทุนที่ต่ำมาก
ทำให้ประเทศไม่เติบโตไปไหน ฝากแต่ธนาคาร แล้วก็ให้เงินเฟ้อกินหมด

เงินฝากดอกเบี้ย 3% เงินเฟ้อ 3.5 - 4 แล้วมันจะอยู่ได้ยังไงครับ

ยังอยากให้คนไทย หาความรู้ในการลงทุน

น่าสนใจครับ ผมไม่ได้มีความรู้ทางนี้ซักเท่าไหร่ เคยมีคนบอกผมว่า "การลงทุนในตลาดหุ้นมันไม่ทำให้ประเทศเจริญอย่างแท้จริง" เสียดายไม่มีเวลาคุยมากนักผมเลยไม่ได้ถามรายละเอียด และผมก็ไม่รู้ว่าเขาคนนั้นรู้ลึกแค่ไหน

แต่คุณบอกตรงกันข้ามเลย ผมเลยสนใจขึ้นมาแล้วครับ

การลงทุนในตลาดหุ้นไม่ทำให้ประเทศเจริญ แล้วทำไมประเทศที่เจริญ ๆ
แล้ว เค้าถึงลงทุนในตลาดหุ้นกันครับ ต้องคิดข้อนี้ก่อนนะผมว่า

ประเทศทุกประเทศก็ต้องการผลักดันให้ตัวเองมีตลาดหุ้นกันทั้งนั้น
เพราะจะได้ระดมทุน เราไปลงทุนกันได้

ไม่งั้นบริษัททั้งหลายก็ต้องกู้เงินจากธนาคารอย่างเดียว

ตลาดหุ้นเป็นแหล่งระดมทุนครับ ยิ่งมีแหล่งระดมทุนที่มีประสิทธิภาพ
บริษัทก็จะเติบโตได้ง่าย และผู้ถือหุ้นก็มีกำไร
ล้วนแต่ไปผลักดัน Real Sector ให้เจริญทั้งนั้น

ปล. ความเห็นผมอาจจะเอียงนะครับ ผมทำงานในตลาดเงิน ตลาดทุน

ไม่ใช่ทุกคนที่อยากลงทุนครับ เขาชอบความแน่นอนของการฝากออมทรัพย์มากกว่าถึงจะได้ไม่มากเท่าการลุงทุน แต่มันก็ไม่เสี่ยง ไม่ยุ่งยาก ฝากก็ฝาก ถอนก็ถอน รอดอกเบี้ยออก จบ

แสดงว่ายังไม่รู้จัก money market จริงครับ
เพราะมันไม่เสียง ไม่ยุ่งยาก ฝากก็ฝาก ถอนก็ถอน รอดอกเบี้ย

แถม กฎระเบียบไม่ยุ่งยากแบบ ME ด้วย

"ป้องกันการโอนเงินออกจาก ม้ลแวร์" ถ้ามัลแวร์ มาเอารหัสการโอนจาก sms บนมือถือได้อีกก็ ok นอกจากจะทำบนมือถือทั้งหมดก็ไม่แน่ :)

Pchy Tue, 10/23/2012 - 13:09

เสียอย่างนึง เว็บที่เกี่ยวกับการเงินการธนาคารแบบนี้ น่าจะใช้ SSL แบบ EV ไม่ต้องใช้ของ VeriSign ก็ได้ ใช้ของ COMODO ก็ยังดี พอเห็นสีเขียวๆ แล้วมันรู้สึกดี

เห็นด้วย ไม่มีความเสี่ยง กับ ความเสี่ยงต่ำ มันต่างกันนะ ความเสี่ยงต่ำแสดงว่าก็ยังมีความเสี่ยงอยู่ดี เพราะฉะนั้น ME ก็น่าจะเป็นทางเลือกที่เหมาะกับคนไม่ชอบเสี่ยง แต่ให้ผลตอบแทนดีกว่าฝากออมทรัพย์ทั่วไปที่ดอกน้อยม๊ากกก หรือฝากประจำที่ตอนนี้ก็เตรียมลดดอกกันอีกแล้ว

PaPaSEK Wed, 10/24/2012 - 22:48

อืม ... น่าจะมีแอพสำหรับอุปกรณ์พกพานะครับ มันจะเป็นแรงจูงใจเพิ่มอีกระดับนึงเลยทีเดียว

ถ้าพูดถึงเรื่องลงทุน ส่วนใหญ่ก็จะลงทุนกันในช่วงวันที่ 1 และ 16 ของแต่ละเดือนครับ
ให้ผลตอบแทนดีกว่าการลงทุนประเภทอื่นๆ ที่ทุกท่านกล่าวมา แต่ความเสี่ยงก็มีนะ แถวบ้านเรียก "หวย" แต่บางท่านอาจเรียก "ฉลากกินแบ่งรัฐบาล" ก็เป็นได้..

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png
OneNote
public://topics-images/onenote.png
Windows App
public://topics-images/windows-app.png
Notion
public://topics-images/notion.png
Google Drive
public://topics-images/drive.png
YouTube Kids
public://topics-images/yt-kids.png
Gboard
public://topics-images/gboard.png
DeepSeek
public://topics-images/deepseek_logo.svg_.png
Prince of Persia
public://topics-images/prince-persia.png
Sony
public://topics-images/nq0nd2c0_400x400.jpg
Tencent
public://topics-images/z4xi4oyc_400x400.jpg
Cisco
public://topics-images/jmyca1yn_400x400.jpg
Alibaba
public://topics-images/4axflwia_400x400.jpg
Alibaba Cloud
public://topics-images/qm43orjx_400x400_cloud.png
Coinbase
public://topics-images/consumer_wordmark.png
CarPlay
public://topics-images/carplay.png
Rust
public://topics-images/rust-logo-blk.png
Red Hat
public://topics-images/redhat.png
Anthropic
public://topics-images/anthropic.png
Xcode
public://topics-images/xcode.png
Tim Cook
public://topics-images/tim-cook.jpg
Donald Trump
public://topics-images/trump.jpg
Microsoft Surface
public://topics-images/surface.jpg
Copilot+ PC
public://topics-images/copilotpc.png
Stellar Blade
public://topics-images/stellar-blade.jpg
Snapdragon
public://topics-images/snapdragon_chip.png
Qualcomm
public://topics-images/qualcomm-logo.svg_.png
CoreWeave
public://topics-images/coreweave.png
Ford
public://topics-images/ford.png
Xiaomi
public://topics-images/xiaomi.png
Google Cloud
public://topics-images/google_cloud_logo.svg_.png
PlayStation Network
public://topics-images/psn.png
PlayStation Plus
public://topics-images/ps-plus.png
Windsurf
public://topics-images/windsurf.png
Square Enix
public://topics-images/square-enix.png
MIT
public://topics-images/x7hyjl3t_400x400.jpg
Zoox
public://topics-images/zoox.jpg
Evernote
public://topics-images/1neatidg_400x400.jpg
Magic the Gathering
public://topics-images/magic.png
Call of Duty
public://topics-images/cod.png
NVIDIA
public://topics-images/nvidia_logo.svg_.png
Satya Nadella
public://topics-images/nadella.png
Nintendo
public://topics-images/nintendo.png
Japan
public://topics-images/japan_flag.png
China
public://topics-images/china-flag-sq.png
Sam Altman
public://topics-images/sam-altman.png
SNK
public://topics-images/snk_logo.svg_.png
EPYC
public://topics-images/epyc.png
HPE
public://topics-images/hpe.png
Juniper
public://topics-images/juniper.png
CMA
public://topics-images/cma.png
App Store
public://topics-images/app-store.png
DoJ
public://topics-images/doj.png
Siri
public://topics-images/siri.png
Apple Intelligence
public://topics-images/apple-intelligence.png
Acer
public://topics-images/acer.png
GeForce
public://topics-images/geforce.png
Omen
public://topics-images/omen.png
HP
public://topics-images/hp.png
Alienware
public://topics-images/alienware.png
Dell
public://topics-images/dell.png
Bungie
public://topics-images/bungie.png
Marathon
public://topics-images/marathon.png
Lenovo
public://topics-images/lenovo-2015-svg.png
Intel Arc
public://topics-images/badge-arc-graphics.png
GitHub
public://topics-images/8zfrryja_400x400.png