Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png
OneNote
public://topics-images/onenote.png
Windows App
public://topics-images/windows-app.png
Notion
public://topics-images/notion.png
Google Drive
public://topics-images/drive.png
YouTube Kids
public://topics-images/yt-kids.png
Gboard
public://topics-images/gboard.png
DeepSeek
public://topics-images/deepseek_logo.svg_.png
Prince of Persia
public://topics-images/prince-persia.png
Sony
public://topics-images/nq0nd2c0_400x400.jpg
Tencent
public://topics-images/z4xi4oyc_400x400.jpg
Cisco
public://topics-images/jmyca1yn_400x400.jpg
Alibaba
public://topics-images/4axflwia_400x400.jpg
Alibaba Cloud
public://topics-images/qm43orjx_400x400_cloud.png
Coinbase
public://topics-images/consumer_wordmark.png
CarPlay
public://topics-images/carplay.png
Rust
public://topics-images/rust-logo-blk.png
Red Hat
public://topics-images/redhat.png
Anthropic
public://topics-images/anthropic.png
Xcode
public://topics-images/xcode.png
Tim Cook
public://topics-images/tim-cook.jpg
Donald Trump
public://topics-images/trump.jpg
Microsoft Surface
public://topics-images/surface.jpg
Copilot+ PC
public://topics-images/copilotpc.png
Stellar Blade
public://topics-images/stellar-blade.jpg
Snapdragon
public://topics-images/snapdragon_chip.png
Qualcomm
public://topics-images/qualcomm-logo.svg_.png
CoreWeave
public://topics-images/coreweave.png
Ford
public://topics-images/ford.png
Xiaomi
public://topics-images/xiaomi.png
Google Cloud
public://topics-images/google_cloud_logo.svg_.png
PlayStation Network
public://topics-images/psn.png
PlayStation Plus
public://topics-images/ps-plus.png
Windsurf
public://topics-images/windsurf.png
Square Enix
public://topics-images/square-enix.png
MIT
public://topics-images/x7hyjl3t_400x400.jpg
Zoox
public://topics-images/zoox.jpg
Evernote
public://topics-images/1neatidg_400x400.jpg
Magic the Gathering
public://topics-images/magic.png
Call of Duty
public://topics-images/cod.png
NVIDIA
public://topics-images/nvidia_logo.svg_.png
Satya Nadella
public://topics-images/nadella.png
Nintendo
public://topics-images/nintendo.png
Japan
public://topics-images/japan_flag.png
China
public://topics-images/china-flag-sq.png
Sam Altman
public://topics-images/sam-altman.png
SNK
public://topics-images/snk_logo.svg_.png
EPYC
public://topics-images/epyc.png
HPE
public://topics-images/hpe.png
Juniper
public://topics-images/juniper.png
CMA
public://topics-images/cma.png
App Store
public://topics-images/app-store.png
DoJ
public://topics-images/doj.png
Siri
public://topics-images/siri.png
Apple Intelligence
public://topics-images/apple-intelligence.png
Acer
public://topics-images/acer.png
GeForce
public://topics-images/geforce.png
Omen
public://topics-images/omen.png
HP
public://topics-images/hp.png
Alienware
public://topics-images/alienware.png
Dell
public://topics-images/dell.png
Bungie
public://topics-images/bungie.png
Marathon
public://topics-images/marathon.png
Lenovo
public://topics-images/lenovo-2015-svg.png
Intel Arc
public://topics-images/badge-arc-graphics.png
ชอบพูดความจริงครึ่งเดียว
whitebigbird Mon, 04/08/2019 - 14:14
ชอบพูดความจริงครึ่งเดียว ถ้าต้นทุนของผู้ให้บริการเพิ่มแล้วภาระมันจะไม่ไปตกที่ผู้บริโภคได้ไง
จริงๆ
lew Mon, 04/08/2019 - 14:16
In reply to ชอบพูดความจริงครึ่งเดียว by whitebigbird
จริงๆ การเก็บภาษีแล้วเป็นต้นทุนนี่เป็นเรื่อง "ปกติ" นะครับ
แต่ไม่ปกติที่แนวคิดนี้จะยึดตามแบนด์วิดท์ ไม่ได้ยึดตาม "มูลค่า" (VAT) หรือ "กำไร" (ภาษีธุรกิจ) ซึ่งมันเป็นแนวคิดของภาษีสรรพสามิต ที่ของเหล่านั้นมัน "เลว ชั่ว เปลือง" เลยต้องคิดภาษีตามปริมาณ เช่นปริมาณแอลกอฮอล์
นั่นสิครับ ผมคิดเหมือนกัน
whitebigbird Mon, 04/08/2019 - 14:46
In reply to จริงๆ by lew
นั่นสิครับ ผมคิดเหมือนกัน ผมไม่ได้ต่อต้านเลยถ้ามันมีเหตุที่ควรจะเก็บ อย่างรถยนต์เอย ของใช้สิ้นเปลืองเอย หรือสินค้าสรรพสามิตอะไรก็ว่าไป
แต่ที่ไม่เห็นด้วยกับที่เลขาฯ พูดคือการพูดความจริงครึ่งเดียวว่าไม่ได้เก็บกับผู้ใช้ เพราะยังไงๆ ภาระมันไปตกกับผู้ใช้อยู่ดีแม้จะไม่ได้เก็บจากผู้ใช้ก็ตาม
แต่ปัญหาคือ กลุ่ม OTT
t2onch Tue, 04/09/2019 - 15:45
In reply to นั่นสิครับ ผมคิดเหมือนกัน by whitebigbird
แต่ปัญหาคือ กลุ่ม OTT ในปัจจุบันไม่ได้จ่ายทั้ง VAT และ TAX
สุดท้ายแล้ว ผู้ให้บริการกลุ่มนี้(OTT)ก็สมควรจะต้องถูกจัดเก็บภาษีไม่ว่าทางใดทางหนึ่งเหมือนธุรกิจอื่นๆ ครับ
อันนี้ถามแบบไม่รู้ครับ
whitebigbird Tue, 04/09/2019 - 15:52
In reply to แต่ปัญหาคือ กลุ่ม OTT by t2onch
อันนี้ถามแบบไม่รู้ครับ ถ้าไม่ได้จ่าย VAT หรือ TAX ใดๆ เลย แล้วเวลาที่บ.ใหญ่ๆ ในไทยมาลงโฆษณาบนแพลตฟอร์มอย่าง TouTube แล้วทาง Google เค้าออกใบกำกับภาษี ให้อย่างไรครับ หรือว่าก็ไม่ต้องออก?
เพราะเวลาทำบัญชีมันต้องมี reconcile ด้วยใบกำกับภาษีที่ถูกต้องตามกฎหมายรึเปล่าครับ?
ในส่วนของนิติบุคคล
t2onch Tue, 04/09/2019 - 16:26
In reply to อันนี้ถามแบบไม่รู้ครับ by whitebigbird
ในส่วนของนิติบุคคล สามารถขอใบกำกับภาษีเต็มรูปแบบของค่าโฆษณาที่จ่าย จากช่องทางโฆษณาเช่น facebook google มาหักเป็นรายจ่ายของธุรกิจได้ครับ
เพียงแต่ในส่วนของภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากกฎหมายในปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมบริการต่างประเทศ กฎหมายกำหนดให้ผู้ที่จ่ายค่าโฆษณาเป็นคนจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่มแทนผู้ให้บริการในต่างประเทศ หมายความว่าตัวอย่าง หากจ่ายค่าโฆษณา 10,000 จำเป็นต้องส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ของค่าโฆษณา คือ 700 รวมเป็น 10,700 จึงสามารถนำรายจ่ายส่วนนี้มาหักเป็นรายจ่ายของธุรกิจได้ถูกต้อง เพราะถ้ายื่นเป็นแค่รายจ่ายของธุรกิจ แต่ไม่ได้นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มจะโดนเงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือน
แสดงว่าบ.อย่าง Facebook,
whitebigbird Tue, 04/09/2019 - 17:25
In reply to ในส่วนของนิติบุคคล by t2onch
แสดงว่าบ.อย่าง Facebook, Google สามารถออกใบกำกับภาษีได้อย่างถูกกฎหมาย แต่ไม่ได้จ่ายภาษีเหรอครับ
สำหรับ Facebook, Google
t2onch Tue, 04/09/2019 - 17:47
In reply to แสดงว่าบ.อย่าง Facebook, by whitebigbird
สำหรับ Facebook, Google สามารถกดขอได้โดยตรงจากบนเว็ปครับ
จะเป็นในรูปแบบของใบเสร็จรับเงิน
ไม่ได้ถามว่าขอยังไงอ่ะ
whitebigbird Tue, 04/09/2019 - 19:52
In reply to สำหรับ Facebook, Google by t2onch
ไม่ได้ถามว่าขอยังไงอ่ะ ถามว่าเค้าออกได้อย่างถูกกฎหมายของประเทศไทย โดยที่ตัวของบ.ดังกล่างไม่ต้องจ่ายภาษีเหรอครับ
ไม่ต้องจ่ายภาษีครับ
t2onch Tue, 04/09/2019 - 20:10
In reply to ไม่ได้ถามว่าขอยังไงอ่ะ by whitebigbird
ไม่ต้องจ่ายภาษีครับ เนื่องจากไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนภายในประเทศไทย
ออกเป็นเพียงใบเสร็จรับเงิน รับรองว่าได้รับเงินจากผู้ซื้อโฆษณาเฉยๆ ครับ
ใบเสร็จรับเงินก็คือใบเสร็จรับ
hisoft Tue, 04/09/2019 - 22:10
In reply to ไม่ต้องจ่ายภาษีครับ by t2onch
ใบเสร็จรับเงินก็คือใบเสร็จรับเงินครับ ไม่ใช่ใบกำกับภาษี
OTT ที่เข้ามาทำกิจการในไทย
McKay Tue, 04/09/2019 - 18:43
In reply to แต่ปัญหาคือ กลุ่ม OTT by t2onch
OTT ที่เข้ามาทำกิจการในไทย ที่ใช้จากผู้บริโภคจ่าย VAT ครับ (Netflix, Spotify, Google Play Store, etc. ไม่รวม Facebook) บริการเหล่านี้มีหน้าที่เรียกเก็บจากผู้ใช้ มีราคาสินค้าและบริการเป็นหน่วยบาท
บริการที่ไม่ได้เรียกเก็บจากผู้ใช้แต่ได้เป็นค่าโฆษณาจากบุคคลต่างๆ บริการเหล่านี้จะให้ผู้ลงโฆษณาไปเสียภาษีเอง (Google Ads, Facebook,etc. ) เนื่องจากมีความซับซ้อนทางภาษี เช่นจากบัญชีคนละประเทศ(คนลาวมาลงโฆษณาที่ไทย) หรือซื้อจากเอเย่น(ทำให้จำนวน VAT ที่จ่ายไม่ตรง), etc. ทำให้พวกนี้ผลักภาระไปยังผู้ใช้บริการให้ไปเสียภาษีเองโดยลง ภ.พ.36(อย่างที่คุณบอกด้านล่าง) ซึ่งโดยมากบริษัทใหญ่ๆก็จะเสียกันอยู่แล้วเพราะจะได้ลงบัญชีหักค่าใช้จ่ายได้ + เก็บเป็นภาษีซื้อได้อยู่แล้ว จะมีที่ไม่ยอมจ่ายบ้างก็น่าจะเป็นรายย่อยที่มักจะจ่ายภาษีแบบเหมาจ่ายและไม่ได้อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มครับ
ขอบคุณครับ
whitebigbird Tue, 04/09/2019 - 19:53
In reply to OTT ที่เข้ามาทำกิจการในไทย by McKay
ขอบคุณครับ
ชัวร์นะครับ
udornrt Wed, 04/10/2019 - 13:14
In reply to OTT ที่เข้ามาทำกิจการในไทย by McKay
ชัวร์นะครับ เพระาไม่เคยเห็นใบเสร็จหรือใบกำกับจาก Netflix แถมตอนเรียกเก็บไม่ได้แยก VAT และค่าบริการให้เลย
ผู้ให้บริการ OTT
McKay Wed, 04/10/2019 - 15:59
In reply to ชัวร์นะครับ by udornrt
ผู้ให้บริการ OTT พวกแรกนี้มันพ่วงกับคู้ค้าหลายรายครับ(เช่น AIS, Dtac, เจ้าของผลงานลิขสิทธิ์, etc.) ยังไงก็ต้องจ่ายตามมาตรา 77/2 ข้อ 1 ไม่อย่างนั้นคู่ค้าก็ไม่สามารถเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มได้ ยกตัวอย่างเช่น Spotify ผ่าน AIS ตัวบริการอยู่ที่ 129.91 รวมภาษีมูลค่าเพิ่มที่ 139 บาทครับ
หรือ Google Play Store เองก็ต้องเก็บให้ต้นทางผู้พัฒนาแอพตามที่ผู้พัฒนาแอพระบุไว้ รายได้ส่วนเกินจาก overhead ภาษีก็ต้องนำส่ง(เพราะเก็บจากผู้ใช้มาแล้ว)
ตอนเรียกเก็บไม่ได้แยกก็ปกตินี่ครับ บริการพวกนี้จ่ายให้แต่ใบเสร็จ/billing อยู่แล้วเนื่องจากผู้ใช้เป็นผู้บริโภคที่ขอคืนภาษีไม่ได้
ยกตัวอย่าง Netflix ครับ
+1024
adirak Tue, 04/09/2019 - 11:29
In reply to ชอบพูดความจริงครึ่งเดียว by whitebigbird
+1024
กล้าประกาศไหมว่าผู้ใช้จะไม่ได
zyzzyva Mon, 04/08/2019 - 14:28
กล้าประกาศไหมว่าผู้ใช้จะไม่ได้รับประสบการณ์การใช้อินเตอร์เน็ตที่แย่ลง และขอตัวชี้วัดที่เป็น objective ด้วยนะ ไม่ใช่ตั้งโพลล์ถามความรู้สึกแล้วจบ
กล้าพูดนะ
zerost Mon, 04/08/2019 - 15:03
กล้าพูดนะ ไปทำต้นทุนคนขายเพิ่มเขาก็ต้องขึ้นราคาขายอยู่แล้วไม่ก็ไปลดคุณภาพสินค้าแทน ป้าขายข้าวแกงยังรู้เลย
แล้วบีบความเร็วมันกระทบใคร
Perl Mon, 04/08/2019 - 15:14
แล้วบีบความเร็วมันกระทบใคร เคยดู Youtube ลื่นๆ มาตลอดแล้วต้องมากระตุกเนี่ย
เด๋วนี้บริษัทใหญ่ๆสบายขึ้น
gosol Mon, 04/08/2019 - 15:35
เด๋วนี้บริษัทใหญ่ๆสบายขึ้น มีผู้บริโภคคอยออกหน้าปกป้องผลประโยชน์ให้ตลอด
ก็มันเป็นผลประโยชน์ของผู้บริโ
put4558350 Mon, 04/08/2019 - 16:41
In reply to เด๋วนี้บริษัทใหญ่ๆสบายขึ้น by gosol
ก็มันเป็นผลประโยชน์ของผู้บริโภคคด้วยนะครับ
ถ้าภาษี youtube เกิดขึ้นมาจริงๆมันมี 2 อย่าง
เป็นรัฐบาลก็สบายขึ้นครับ
lew Mon, 04/08/2019 - 17:30
In reply to เด๋วนี้บริษัทใหญ่ๆสบายขึ้น by gosol
เป็นรัฐบาลก็สบายขึ้นครับ องต์กรอิสระมีหน้าที่กำกับดูแลโทรคมนาคมให้ก้าวหน้า ไม่ได้มีหน้าที่หารายได้
ตั้งหน้าตั้งตาหารายได้ให้รัฐบาลเป็นหลักเลย งานประจำพวกกำกับดูแลนี่ไม่ค่อยทำ
+2048
adirak Tue, 04/09/2019 - 11:29
In reply to เป็นรัฐบาลก็สบายขึ้นครับ by lew
+2048
เดี๋ยวนี้องค์กรอิสระสบายขึ้น
darkfaty Wed, 04/10/2019 - 09:00
In reply to เด๋วนี้บริษัทใหญ่ๆสบายขึ้น by gosol
เดี๋ยวนี้องค์กรอิสระสบายขึ้น ทำท่าจะออกนโยบายที่มีผลกระทบกับคนทั้งประเทศแต่ไม่คิดรอบด้านหน้าเงินอย่างเดียวไม่สนความเดือดร้อนของประชาชน แต่มีคนออกหน้าปกป้องผลประโยชน์ให้ตลอด สงสัยได้ผลประโยชน์กับองค์กรนี้แน่เลย
(ทฤษฎีสมคบคิด) ที่กสทช
chan1sook Mon, 04/08/2019 - 20:00
(ทฤษฎีสมคบคิด) ที่กสทช.พยายามเก็บค่าธรรมเนียมบริการ OTT ใจจะขาดนี้ เพราะต้องการอุ้มธุรกิจ "ทีวีดิจิทัล" ไม่ให้เจ๊งไปมากกว่านี้ ก่อนหน้านี้ กสทช.ประมูลใบอนุญาตทีวีดิจิทัลให้กับผู้ประกอบการ ปรากฏว่าผู้ประกอบการที่ได้คลื่นเหล่านี้กลับขาดทุนหรือถึงขั้นเจ๊ง ถึงขั้นออก ม.44 เพื่อให้ผู้ประกอบการพักชำระค่าธรรมเนียมได้ 3 ปี เพราะพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภคที่ดูทีวีน้อยลง การมาของอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและบริการ OTT (Youtube, Netflix, ฯลฯ)
กสทช.คงตระหนักว่าถ้าปล่อยให้ OTT ดำเนินกิจการต่อไป กสทช.ก็จะประมูลใบอนุญาตทีวีดิจิทัลต่อไปไม่ได้อีก (เพราะจะไม่มีผู้ประกอบการมาประมูลอีกในเมื่อทำแล้วไม่ได้กำไร) กสทช.เลยพยายามสกัดกั้นธุรกิจ OTT โดยการเก็บค่าธรรมเนียมตามปริมาณข้อมูล เพื่อเพิ่มต้นทุนให้แก่ OTT (บริการ OTT ใช้แบนด์วิดธ์มากอยู่แล้วตามธรรมชาติ) เพื่อให้ทีวีดิจิทัลยังคงสามารถแข่งขันได้
+1 ผมก็คิดแบบนั้น
-Rookies- Mon, 04/08/2019 - 20:47
In reply to (ทฤษฎีสมคบคิด) ที่กสทช by chan1sook
+1 ผมก็คิดแบบนั้น งานกำกับไม่ไปทำ งานเก็บภาษีล่ะขยันจริง ทุกวันนี้คนรอบข้างยังโดน SMS เก็บตังค์กันอยู่เลย เบื่อมาก
ผมว่ามีส่วนเยอะเลยหละ
IDCET Mon, 04/08/2019 - 21:09
In reply to (ทฤษฎีสมคบคิด) ที่กสทช by chan1sook
ผมว่ามีส่วนเยอะเลยหละ และสมเหตุสมผลที่สุดแล้วในตอนนี้
สิ่งนึงที่ผมตอบไม่ได้จากท
whitebigbird Mon, 04/08/2019 - 21:22
In reply to (ทฤษฎีสมคบคิด) ที่กสทช by chan1sook
สิ่งนึงที่ผมตอบไม่ได้จากท.ดังกล่าว คือทีวีดิจิตอลจะฟื้นฟูได้ยังไง เพราะไม่ใช่ว่าเก็บเงินจาก ott แล้วคนจะหันไปดูทีวีดิจิตอลอ่ะครับ
เพราะปัญหาของทีวีดิจิตอลคือการ hype และพยายามจุดกระแสเกินไปโดยใช้อเมริกามาเป็นโมเดล แต่จำนวนประชากรต่างกันมาก
ในขณะที่ต้นทุนสัมปทานกลับแพงแบบไม่สะท้อนความเป็นจริง ทำให้ต้นทุนการดำเนินการบวกห่ต้องผ่อนชำระจากการไปกู้มาประมูลสัมปทานก็หนักหนาสาหัส ในขณะที่ยอดผู้ชมรวมทั้งประเทศมันไม่ได้ขยายตามจำนวนช่องที่โผล่มาเต็มไปหมด
ตอนเปลี่ยนผ่านจากระบบอนาล็อกมาระบบดิจิตอลก็ต้องลงทุนไม่น้อยด้วยครับ
ไม่เคยดูสาเหตุหลักเลย
sdc Mon, 04/08/2019 - 23:43
ไม่เคยดูสาเหตุหลักเลย ทำไมทีวีดิจิทัลถึงขาดทุน โอเคว่าพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไป เน้นดูออนไลน์มากขึ้น แต่ว่านั่นไม่สาเหตุที่แท้จริงนะ สาเหตุที่แท้จริงคือ เนื้อหา คอนเทนต์ คุณภาพต่างหากล่ะ ถ้ามันดี ใครๆก็อยากดู และยิ่งได้ดูสดก็ยิ่งทันต่อเหตุการณ์มากขึ้น
แน่ใจนะว่า ผู้บริโภคจะไม่ได้รับผลกระทบ จะเชื่อก็ต่อเมื่อ คุณสามารถทำได้ตามที่บอกไว้ แต่จากประวัติที่ผ่านมา มันไม่จริงเลย ไม่สามารถทำได้ ไม่สามารถควบคุมอะไรได้เลย เน้นผลประโยชน์รัฐมากกว่าดูแลประชาชน ประชาชนเดือดร้อนช่างมัน แต่ถ้ารัฐเดือดร้อน หรือไม่มีเงิน ไม่ได้ต้องรีบแก้ รีบประมูลและแพงที่สุดในโลกด้วยมั้ง SMS กินเงินเอย หลอกลวงผู้บริโภคเอย บอกว่าไม่ผิด ไม่พบ
#หาเงินให้รัฐเก่ง #แต่ปกป้องสิทธิ์ประชาชนห่วย
TV digital ที่เจ๊ง กสทช.
waroonh Tue, 04/09/2019 - 10:00
TV digital ที่เจ๊ง กสทช. คิดแบบนี้ครับ
เดิม 6 ช่อง รายได้ติ๊งต่างว่า 60,000 ล้านต่อปี ก็ช่องละ 10,000 ล้าน พอเป็น TV digital มี 24 ช่อง รายได้รวมก็ 240,000 ล้านบาท เก็บภาษีรวยเลย
รวยจนช่องสามเจ๊ง ห้าร่อแล่ เจ็ดแทบไม่รอด เก้าดูไม่จืดเลย ฝีล้วนๆ ไม่มีโชคช่วยเลย
หน่วยงานนี้จัดตั้งมาเกือบจะ10
semiauto Tue, 04/09/2019 - 13:08
หน่วยงานนี้จัดตั้งมาเกือบจะ10ปีแล้ว ก็ยังคงเป็นเสือกระดาษไม่เคยเปลี่ยนแปลง
ดูจากข่าว กสทช. มาหลายปี
IDCET Tue, 04/09/2019 - 13:40
In reply to หน่วยงานนี้จัดตั้งมาเกือบจะ10 by semiauto
ดูจากข่าว กสทช. มาหลายปี ก็อย่างที่ผมบอกไปหลายรอบแล้วละกัน ยุบไปเถอครับ พร้อมกับ TOT ฝ่ายที่ขาดทุนมหาศาลด้วย เสียดายภาษีประชาชนมาก ให้เอกชนและ CAT จัดการกันเอง
ไม่เห็นด้วยให้ยุบครับ
Configuleto Tue, 04/09/2019 - 13:47
In reply to ดูจากข่าว กสทช. มาหลายปี by IDCET
ไม่เห็นด้วยให้ยุบครับ ประเทศจำเป็นต้องมีหน่วยงานแบบนี้ แต่จะมีหนทางไหนทำให้กสทช.ดีขึ้นได้เนี่ย...ไม่มีความเห็นครับ 55555
คอมเมนต์เอาสะใจคงเข้าใจได้
lew Tue, 04/09/2019 - 13:59
In reply to ดูจากข่าว กสทช. มาหลายปี by IDCET
คอมเมนต์เอาสะใจคงเข้าใจได้ แต่ "จัดการกันเอง" นี่ได้คิดจริงจังว่ามันจะออกมาแบบไหนรึเปล่าครับ? ใครจะให้คลื่นใครเท่าไหร่ เวลามีข้อพิพาทใครจะจัดการ กสทช. จัดการไม่ดี ช้านี่ก็เรื่องนึง แต่ไม่มีที่ให้จัดการต้องไปฟ้องศาลเอาทีละเคสนี่ความลำบากอีกเรื่องแน่ๆ
ผมว่าเวลาฟ้อง
IDCET Tue, 04/09/2019 - 14:16
In reply to คอมเมนต์เอาสะใจคงเข้าใจได้ by lew
ผมว่าเวลาฟ้อง แม้มันต้องเสียเวลา แต่อย่างน้อยมันได้ผลทางตรงกว่าทำผ่าน กสทช. มาก
ส่วนราคาก็ให้อิงตามตลาดในปัจจุบัน ไม่ใช่แบบอิงจากประมูลรอบก่อนที่ กสทช. ทำมาก่อน ก็น่าจะช่วยสอดส่องกันเองจากหน่วยงานที่ใช้งานจริงได้ โดยไม่ต้องมี กสทช. ที่ทำงานแบบเสือกระดาษในตอนนี้แล้วมันเป็นเงินภาษีของเราที่หล่อเลี้ยงหน่วยงานไร้ประสิทธิภาพพวกนี้ด้วยอะครับ
แต่ถ้าต้องการให้ กสทช. อยู่ต่อไปผมไม่ว่านะ แต่ต้องปรับปรุงให้ดีขึ้น และที่สำคัญ มันต้องยกเครื่ององค์กรครั้งใหญ่เลยนะ ซึ่งดูแล้วมันไม่มีทางเกิดขึ้นในตอนนี้เลย แล้วกว่าจะจัดการได้ก็อีกหลายปี ช้าอย่างกับเต่าคลาน ใครจะรอไหวหละครับกับการดำเนินธุรกิจที่เร็วในตอนนี้
ข้อแรกของคุณนี่ไม่จริงในหลายก
lew Tue, 04/09/2019 - 14:40
In reply to ผมว่าเวลาฟ้อง by IDCET
ข้อแรกของคุณนี่ไม่จริงในหลายกรณีครับ ผมเห็นกสทช. ให้ชดเชยเรื่อยๆ และผมยังไม่เคยเห็นใครฟ้องผู้ให้บริการจริงจัง (มูลค่ามันน้อยมาก ไม่คุ้มเสียเวลา) ที่ผ่านมากระบวนการข้อพิพาทมีพิจารณาก็ออกมาเรื่อยๆ แน่นอนผมอยากได้ระบบดีกว่านี้ อังกฤษหรือสิงคโปร์มีระบบชดเชยที่ค่อยข้างดีกว่าเรา แต่ให้ถอยไปแบบไม่ดูความจริงนี่คิดว่าไม่ไหว
ความเห็นของคุณเอาแต่บอกข้อไม่ดี (ซึ่งเป็นจริง) แต่เสนอทางออกที่ไม่สมเหตุสมผล หรือจริงๆ แทบไม่ได้เสนออะไรเลยนอกจากบอกให้ยุบกสทช.
เช่น ใครจะมาบอกให้ "อิงตามราคาตลาด" แล้วใครจะเคาะว่าราคาไหนคือราคาตลาด รัฐมนตรีไอซีที? (กลับไปยุคกรมไปรษณีย์โทรเลข?)
พอมันมีคนตัดสินใจ มีคนตั้งราคา มันก็ไม่มีหรอก "จัดการกันเอง" อย่างที่คุณว่าน่ะครับ
โอเคครับ
IDCET Tue, 04/09/2019 - 15:11
In reply to ข้อแรกของคุณนี่ไม่จริงในหลายก by lew
โอเคครับ เรื่องฟ้องร้องผมไม่แม่นจริงๆ และผมก็อาจไม่ได้ตามข่าวของ กสทช. ที่ผมมองไม่เห็นหรือไม่เคยได้ยินเท่าที่คุณติดตาม ผมยอมรับครับ
สำหรับราคาตลาด ผมมองว่าสามารถอิงราคาประมูลและงบประมาณจากต่างประเทศที่มีราคาใกล้เคียงกับราคากลางในปัจจุบันได้อยู่ และเพียงพอที่คู่แข่งขนาดเล็กสามารถเข้ามาร่วมประมูลได้ ไม่ใช่แค่ 5 เจ้าใหญ่ในตอนนี้ แล้วค่อยตกลงประมูลระหว่างรัฐผู้ถือครองคลื่นกับผู้ให้บริการตามกำลังทรัพย์ที่มีก็น่าจะไหวอยู่ ไม่งั้นก็เป็นหนี้บาน ส่งผลกระทบกับผู้ใช้งานต้องจ่ายแพงขึ้นเพื่อเอารายได้มาชำระค่าประมูลตามงวดที่สูง
ผมอาจแรงไปหน่อยตามความรู้สึกของ กสทช. ในตอนนี้ แต่ผมมองไม่เห็นอนาคตของ กสทช. เลยสักนิดเดียว ใจผมก็อยากให้ตั้งหน่วยงานใหม่ ก็ต้องเสียงบประมาณสร้างและเพิ่มสำนักงานอีก (เว้นแต่จะใช้ที่เดียวกับ กสทช.) วิธีแก้ผมว่ามีและคุณก็น่าจะมีวิธีที่ดีกว่าผมด้วยหลายอย่าง แต่คงทำไม่ได้หรือเป็นไปได้ยากในตอนนี้ ตอนนี้พอ กสทช. พูดอะไรออกมา มีแต่ผลกระทบด้านลบตลอด เหมือน สคบ. หรือหน่วยงานอื่นที่มองเป็นแนวลบพอสมควร
สิ่งที่คุณต้องการคือไล่คณะกรร
Thaitop_BN Tue, 04/09/2019 - 22:02
In reply to โอเคครับ by IDCET
สิ่งที่คุณต้องการคือไล่คณะกรรมการชุดนี้ออกและปรับปรุงวิธีการสรรหาให้ได้คนมีประสิทธิภาพมาทำงานครับ ไม่ใช่ยุบองค์กร ต่อให้ยุบตั้งใหม่อีกสิบครั้ง แต่ยังได้พวกเดิมๆ แนวคิดเดิมๆ มันก็จะเหมือนเดิม เพิ่มเติมคือเสียเวลาและเสียเงินฟรี
ผมเดาว่า
mr_tawan Tue, 04/09/2019 - 13:42
ผมเดาว่า พยายามหาเงินมาแทนในส่วนของทีวีที่เริ่มล้มหลายตายจาก
ผมเอาเท้าก่ายหน้าผากตัวเองมาห
whitebigbird Tue, 04/09/2019 - 14:51
In reply to ผมเดาว่า by mr_tawan
ผมเอาเท้าก่ายหน้าผากตัวเองมาหลายรอบ พยายามหาคำตอบว่าทำไมกสทช.ต้องพยายามหารายได้ หรืออาจไม่ใช่การหารายได้ แต่เป็นการสะกัดการเติบโต หรืออาจจะเป็นการปูทางเพื่อให้ internet service provider ต้อง redirect traffic ไปเข้า counter ของรบ.เพื่อจัดเก็บรายได้ (อันหลังนี้มั่วเอา)
นี่มันหน่วยนึงของสรรพากรหรือเ
dtobelisk Tue, 04/09/2019 - 18:31
นี่มันหน่วยนึงของสรรพากรหรือเปล่า
ขยันหาเงินจังเลย
เหมือนทำแต่ละอย่าง พอหาเงินเข้ารัฐได้ก็ไม่ทำไรละ ทำงานแบบ Passive ไปเรื่อยๆ