NBTC

นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช. ได้ไปพูดปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ 5G ปลุกไทยที่ 1 อาเซียน ที่อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจคือ ข้อเสนอเรื่องการหารายได้แบบใหม่จาก OTT อาทิ YouTube, Netflix

เลขาธิการ กสทช. ระบุว่าปัจจุบันมีการใช้ดาต้าเฉลี่ยปีละ 6 ล้านเทราไบต์ และเมื่อ 5G เริ่มใช้งาน ปริมาณการใช้งานดาต้าน่าจะเพิ่มราว 40 เท่า โดยเจ้าตัวเสนอว่า การหารายได้เข้ารัฐจากปริมาณดาต้าขนาดนี้ รัฐก็ควรจะจัดเก็บรายได้ตามปริมาณการใช้งาน เพราะถือว่าเป็นการใช้งานโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ

นอกจากนี้นายฐากรยังเสนอด้วยว่า อาจจะให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเกตเวย์ระหว่างประเทศจัดทำรายการทราฟฟิคจากต่างประเทศ รวมถึงจะยกร่างหลักเกณฑ์ใหม่ว่าจะเก็บอย่างไร ใช้แค่ไหนถึงเก็บและจะเก็บจากใคร โดยถึงแม้เลขาธิการ กสทช. ระบุว่าหลักการนี้จะต้องไม่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและส่งผลดีต่อรายได้ประเทศ แต่คาดว่าสุดท้ายผลกระทบก็อาจจะตกอยู่กับผู้บริโภค

ที่มา - มติชน

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's company cover
CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's
CP AXTRA Lotus's is revolutionizing the retail industry as a Retail Tech company.
Token X company cover
Token X
Blockchain, ICO, Tokenization, Digital Assets, and Financial Service
Carmen Software company cover
Carmen Software
Hotel Financial Solutions
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd. company cover
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd.
We are web design with consulting & engineering services driven the future stronger and flexibility.
United Information Highway Co., Ltd. company cover
United Information Highway Co., Ltd.
UIH is Thailand’s leading Digital Infrastructure and Solution Provider for Business
KKP Dime company cover
KKP Dime
KKP Dime บริษัทในเครือเกียรตินาคินภัทร
Kiatnakin Phatra Financial Group company cover
Kiatnakin Phatra Financial Group
Financial Service
Fastwork Technologies company cover
Fastwork Technologies
Fastwork.co เว็บไซต์ที่รวบรวม ฟรีแลนซ์ มืออาชีพจากหลากหลายสายงานไว้ในที่เดียวกัน
Thoughtworks Thailand company cover
Thoughtworks Thailand
Thoughtworks เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโยลีระดับโลกที่คว้า Great Place to Work 3 ปีซ้อน
Iron Software company cover
Iron Software
Iron Software is an American company providing a suite of .NET libraries by engineer for engineers.
CLEVERSE company cover
CLEVERSE
Cleverse is a Venture Builder. Our team builds several tech companies.
Nipa Cloud company cover
Nipa Cloud
#1 OpenStack cloud provider in Thailand with our own data center and software platform.
CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
CIMB THAI Bank company cover
CIMB THAI Bank
MOVING FORWARD WITH YOU - CIMB is the leading ASEAN Bank
Bangkok Bank company cover
Bangkok Bank
Bangkok Bank is one of Southeast Asia's largest regional banks, a market leader in business banking
Gofive company cover
Gofive
“We create world-class software experience”
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group company cover
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group
KBTG - "The Technology Company for Digital Business Innovation"
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"
Icon Framework co.,Ltd. company cover
Icon Framework co.,Ltd.
Global Standard Platform for Real Estate แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร มาตรฐานระดับโลก
REFINITIV company cover
REFINITIV
The Financial and Risk business of Thomson Reuters is now Refinitiv
H LAB company cover
H LAB
Re-engineering healthcare systems through intelligent platforms and system design.
LTMH TECH company cover
LTMH TECH
LTMH TECH มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยพันธมิตรของเราให้บรรลุเป้าหมาย
Seven Peaks company cover
Seven Peaks
We Drive Digital Transformation
Wisesight (Thailand) Co., Ltd. company cover
Wisesight (Thailand) Co., Ltd.
The Best Choice For Handling Social Media · High Expertise in Social Data · Most Advanced and Secure
MOLOG Tech company cover
MOLOG Tech
We are Modern Logistic Platform, Specialize in WMS, OMS and TMS.
Data Wow Co.,Ltd company cover
Data Wow Co.,Ltd
We enable our clients to realize increased productivity by solving their most complex issues by Data
LINE Company Thailand company cover
LINE Company Thailand
LINE, the world's hottest mobile messaging platform, offers free text and voice messaging + Call
LINE MAN Wongnai company cover
LINE MAN Wongnai
Join our journey to becoming No.1 food platform in Thailand

ต่างสิครับ ค่าใช้จ่ายเพิ่มที่ผู้ใช้, ISP, Platform หรือเจ้าของ content (เช่นเจ้าของ channel) ผลกระทบทางตรงต่างอยู่แล้ว และกระทบมาถึงผู้ใช้ในรูปแบบต่างกัน ผมไม่ได้เห็นด้วยว่าถูกหรือไม่ถูกนะ แต่อยากเข้าใจประเด็นของข่าวก่อน จากเม้นหลายคนเหมือนเข้าใจว่าเก็บที่ ISP หรือผู้ใช้ ที่บอกว่าค่าเน็ตพุ่ง ถ้าเก็บจาก platform ค่าเน็ตจะไม่พุ่งแต่ค่าใช้จ่ายหรือความวุ่นวายจะมาในรูปแบบอื่น

ลองเดาดูนะครับ ในเมื่อประเทศไทยเป็นที่เดียวในโลกที่มีแบบนี้ สิ่งที่ผู้ให้บริการ content จะทำ ก็ง่ายๆ ครับ คือเริ่มด้วย ระงับหรือลดโควต้าการเชื่อมต่อกับ isp ของประเทศไทยลงในทันที จากนั้น isp ของไทยที่ต้องการให้บริการต่อ ก็จะต้องทำเรื่องขอเชื่อมต่อข้อมูลกับผู้ให้บริการ content ซึ่งทางนั้นก็คงไม่ยอมให้ฟรีๆ เพราะถ้ายอมให้มีการเชื่อมต่อในปริมาณเท่าเดิมต่อไป นอกจากเขาเสียแบนด์วิธของเซิฟเวอร์แล้วยังต้องจ่ายเงินให้ไทยอีกต่างหาก เผลอๆ จากที่เคยได้กำไรจะกลายเป็นขาดทุนหรือเท่าทุนเอา ดังนั้นถ้าทางผู้ให้บริการไม่ต้องการแบกรับค่าใช้จ่ายตรงนี้ ก็จะทำสัญญากับ isp ของไทย เป็นระบบเรียกเก็บค่าเชื่อมต่อตามปริมาณข้อมูลที่ฝั่งเขาต้องจ่าย แล้ว isp ของไทย ก็จะมาเก็บเงินส่วนนี้จากผู้ใช้บริการต่ออีกที ทีนี้จากค่าเน็ตรายเดือนแบบ unlimited ก็จะกลายเป็นราคาแบบ รายเดือน+ค่าบริการเชื่อมต่อข้อมูลไปยังผู้ให้บริการ content ตามปริมาณข้อมูล และแล้วมันก็จะมาพุ่งที่ค่าเน็ตของเรานี่แหละ

ใช่ครับเป็นโครงสร้างพื้นฐาน แต่สัมปทานก็ให้เขาไปแล้ว คนลงทุนให้บริการคือเอกชน ภาษีเขาก็จ่ายให้
ยังจะเก็บอะไรซ้ำซ้อนอีก อ้างว่าเป็นสิ่งฟุ่มเฟือยยังพอฟังขึ้นมากกว่าอีก

กสทช มองเห็น ดาต้า เป็นเงิน แล้วคิดจะเปลี่ยนมันเป็นรายได้ของชาติ เจตนาดีนะ

แต่คิดบ้างไหมว่า ดาต้า 1mbของระบบ4g กับ 1mbของระบบ5g ค่าของมันไม่ควรเท่ากัน

เช่นเดียวกับคอนเทนต์ต่างๆที่มารองรับก็คุณภาพสูงขึ้นตามคุณภาพการรับส่งดาต้า

ใช่ .... ราคาต้องปรับให้ทันยุคทันสมัย ถ้าช้านิดหน่อยก็ถ่วงความเจริญชาติแล้ว

ที่พูดมามีความรู้บ้างไหมครับ ถ้าไม่มีก็ควรหาเพิ่มด่วนเลยครับ คือคิดง่ายๆ ค่า data edge, 3g, lte มันเคยเท่ากันเหรอ อีกอย่างราคาก็แปรผันตามค่าสัมปทาน,จำนวนผู้ใช้งาน ไม่ใช่มาคิดตาม "สตรีมมิ่ง"

ปัจจุบันเราจ่าย เหมาไปแล้วเช่น 799 ใช้ data ได้ 10GB เล่นอะไรก็ได้ คุณมาบอกว่าการคิดค่าสตรีมมิ่งเพิ่มคือการปรับราคาให้ทันยุคสมัย มันจะกลายเป็นถ้าคุณจะดู youtube คุณต้องจ่ายเพิ่ม 899 อะไรแบบนี้เหรอ ทั้งๆที่ปริมาณการใช้งานเป็น 10GB เท่าเดิมเนี่ยนะ โคตรตลกเลย

สิ่งที่ผมกำลังจะสื่อก็คือ ตอบโต้ความคิดของ กสทช ที่เหมือนกำลังจะเก็บรายได้ตามปริมาณข้อมูลที่ใช้งาน

ในเมื่อเรามีการรับส่งข้อมูลที่เร็วมากขึ้น ปริมาณในการบริโภค data ก็สูงขึ้นใช่ไหมล่ะ คอนเทนต์ต่างๆก็พัฒนามากขึ้น ชาติก็เจริญขึ้น ถ้า กสทช ยังจะคงราคาต่อประมาณดาต้าไว้ไม่ปรับตามยุค ก็ไม่เกิดการพัฒนา

ก็ใช่ไงถ้ามามัวเก็บข้อมูลตามดาต้า แบบนี้ต่อให้มี 6g คนไทยก็ยังดู 720p เพราะตันที่ราคา ผมจึงบอกว่า กสทช ต้องปรับให้เร็วอาทิ จากเดิม 10g 799 พอเป็น 5g ก็ควรปรับค่าดาต้าซะใหม่ เป็น 30g 799 แบบนี้

ค่าใบอนุญาตก็จ่าย ค่า vat ก็จ่าย......จะเอาไรอีกหว่า?
อารมณ์ประมาณ ผัวเมีย มาเช่าบ้าน ค่าน้ำค่าไฟ ค่าเช่าคิดหมด
พอถึงเวลาผัวเมียมีลูกบอก "ขอคิดค่าเช่า ค่าน้ำ ค่าไฟเพิ่ม เพราะ พวกเธอคลอดลูกออกมาใช้พื้นที่ชั้น"

และก็โดนค่ายอื่นแซงไปเรื่อยๆนั่นเอง //ไม่เกี่ยวละ
และเป็นคนๆเดียวกับปิด Voice TV ตามใบสั่ง

คนๆนี้มัน...จริงๆนะ (เติมเอาเอง)

ใบอนุญาตก็แพงทะลุโลกแล้ว ยังเก็บค่าใช้เขาอีกเหรอครับ หรือว่านี่คือแผนทำลายอินเทอร์เน็ต อาวุธที่น่ากลัวที่สุดในสายตากองทัพ

jokerxsi Thu, 04/04/2019 - 17:21

เดี๋ยวนะ หน่วยงานนี้มีหน้าที่หารายได้เข้ารัฐแล้วเหรอ
มันเข้าข่ายเก็บค่าอนุญาติ สัมปทานซ้ำซ้อนไหม หรือไปริดรอนสิทธิ์ที่เคยให้กับเจ้าก่อนหน้า

หน่วยงานน่าจะเป็นผู้ดูและให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้บริโภคในรัฐมากกว่า

ก็ยกเลิก package unlimited ไปเลย เหลือแต่แบบตามจำนวน data แทน ทำแบบนี้ยังจะดูมีมาตรฐานมากกว่าการบังคับเก็บเงินรายธุรกิจ

แทนที่จะสร้างโครงสร้างพื้นฐานเพื่อจูงใจให้เอกชนมาลงทุนในประเทศ เพื่อจัดเก็บรายได้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมถึงขยายการลงทุน สร้างงาน กลับคิดแต่จะหารายจ่ายเพิ่มให้ผู้ลงทุน แล้วใครมันจะมาลงทุน จะคิดอะไร มันต้องให้เขามาอยู่ก่อนแล้วค่อยทำ ไม่ใช้โครงการยังลูกผีลูกคนอยู่เลย ดันเตรียมค่าใช้จ่ายรอไว้ให้แล้ว เดี๋ยวก็ฝันค้างหรอก

อินเตอร์เน็ตควรเป็นสาธารณูปโภคพื้นฐานได้แล้ว
ประชาชนต้องไม่มีข้อจำกัดการเข้าถึงอีกต่อไป
คนหาเช้ากินค่ำไม่มีตังมาจ่ายหรอก 300-400 ต่อเดือน
ผมเสนอให้ลดค่าประมูลใบอนุญาต เพื่อให้ผู้บริการจัดแพกเกจในราคาที่ต่ำลง
ส่วน facebook youtube สตรีมมิ่งเจ้าต่างๆ ก็ให้เก็บภาษีตามปกติ ไม่ใช่หน้าที่ของ กสทช.

ถ้าผ่านเมื่อไหร่ ดูอัตตราการลงทุนในประเทศลดลงได้เลยครับ ใครบอกไม่ลด มาตบหัวผมได้เลย

เปลี่ยนเป็นระบบประชาชนปกครองประชาธิปไตยสิ ทุกคนได้เงินใช้หมดโดยไม่ต้องเสียภาษี ง่ายดี ไม่ต้องมีหน่วยงานรัฐด้วย ให้บริษัทเอกชนบริหารบริการและทำเงินกันเอง ไม่ต้องมีมือที่ 3 อย่าง กสทช. และองวค์กรอื่นๆ

โดยปกติแล้ว รบ.ปชต มีการทำนโยบาย ที่ดูผลกระทบของทุกฝ่ายมากกว่ารบ.ทหาร หรือองค์กรที่แต่งตั้งโดยคนของรบ.ทหารนะครับ

ตอนนี้เราปกครองด้วยระบอบเผด็จการทหารนะ ไม่ใช่ประชาธิปไตย

รบ. ปชต ที่ผ่านมา ทำนโยบายที่ดูผลกระทบของทุกฝ่ายซะเหลือเกินนะครับ
กสทช. ชุดนี้ก็จากรัฐบาล ปชต. นะครับ

ผมเห็นหลายๆ คนในนี้ประชาธิปไตย mania ซะเหลือเกิน สำหรับผมระบอบการปกครองอะไรก็ไม่สำคัญ
มันสำคัญที่คนมีอำนาจในระบอบนั้นๆ มากกว่า ที่ผ่านมารัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งก็ไม่ได้ดีไปกว่า
รัฐบาลตอนนี้เลย

กสทช.ชุดนี้ มาด้วย รธน.ปี50 ครับ ใครกันหนอเป็นคนออก?

เรื่องบางเรื่องไม่โดนสังเวยกับตัว ก็ไม่มีวันรู้ตัวหรอกครับ

นโยบายบ้าๆบอๆ ที่กระทบคนเป็นล้าน ออกคำสั่งมาไม่กี่วัน ก็แก้กลับ นั่นแหละครับ การออกคำสั่งโดยไม่คำนึงผลกระทบ กฎหมายหลายฉบับ ใช้ม.44แก้กลับไปกลับมาสองสามรอบ เพราะไม่ดูให้รอบด้าน พอไปกระทบผู้มีพระคุณรบ.ทหารก็รีบออกม.44มาแก้

ถ้าคิดสนใจจะศึกษา ลองหาข่าว กฎหมายอาชีพรปภ.ต้องจบม.3 กฎหมายเรื่องการค้ำประกันที่จู่ๆออกมาบอกว่าห้ามฟ้องคนค้ำ ฯลฯ ครับ ตัวหลังนี่ม.44 สองรอบเลยทีเดียว

ไว้วันนึงคุณโดนรบ.ทหาร ใช้อำนาจโดยไม่สนใจกฎหมาย หรือโดนกฎหมายบ้าๆบอๆออกมา จะรู้ตัวก็อาจจะสายไปนะครับ วันนั้นอาจจะไม่เหลือใครมาช่วยคุณแล้วก็ได้

ผมโดนตั้งกะตอนปิดสนามบินแล้ว จำได้หมดยันวันตาย ใครเกี่ยวข้องบ้าง....

ผมว่าคนที่คิดแบบคุณ ต่อให้อยู่ภายใต้การปกครองของคนที่เลวที่สุด คุณก็ไม่สนใจหรอกจริงมั้ยครับ เพราะคุณคงบอกว่า คุณก็ต้องทำมาหากินเลี้ยงตนเองอยู่ดี

อันนี้คำถามนะครับ ว่าเป็นแบบที่ผมบอกรึเปล่า

นึกถึง ISP ลากสายไปหา content provider

content provider ได้เงินจากค่าโฆนา

ISP อยากก็มาเริ่มคิด ลากสายไปหา content provider ให้เขาได้เงินทำไม

อ้างว่าใช้โครงสร้างพื้นฐานได้ไง ในเมื่อค่ายมือถือประมูลเสียเงินสัมปทานไปแล้ว และก็มีภาษีจากค่าบริการอีกทอด ซึ่งตรงนั้นคำนวณค่าโครงสร้างพื้นฐาน และรวมถึงค่าใช้ทรัพยากร (คลื่นความถี่) ไปแล้ว

แบบนี้คือเก็บเงินซ้ำซ้อน และพยายามทำเงินจากอากาศแท้ๆ

Perl Thu, 04/04/2019 - 20:41

ทานโทษครับ โครงสร้างพื้นฐานของประเทศนี่เอกชนเขาลงทุนเองไม่ใช่เหรอครับ

ผมว่าท่านมีวิสัยทัศน์และเจตนาที่ดีนะครับ
ประเทศเราโชคดีที่ท่านดำรงตำแหน่งมานาน
ชดเชยค่าเน็ตเพิ่มขึ้นบ้างเพื่อชาติเถอะครับ

ถนัดทำเรื่องไม่ค่อยฉลาดมาหลายเรื่องแล้ว ผลงานเพียบ ประมูลทีวีจนเจ๊ง เอาความลับทางการค้ามาเปิดเผย ประมูลมือถือจนมูลค่าสูงเกินความจำเป็น ปิด VOICE TV ตามใบสั่ง องค์กรอิสระไทยมันอิสระจากประชาชนผู้จ่ายเงินเดือนให้อย่างเดียวสินะ

ไหนว่าจัดประมูลคลื่นแล้วประชาชนจะได้ประโยชน์ในการใช้งานได้ในราคาประหยัดแล้วเนี่ยจะมาเก็บซ้ำซ้อนให้กับการบริการเอออออ ถ้ามัวแต่คิดจะเก็บเงินซ้ำซ้อนเอาเวลาไปคิดพัฒนาเทคโนโลยีหรือนวัฒกรรมออกมาขายดีกว่าใหม

ส่วนตัวเข้าใจว่า ต้องการหาวิธีเก็บภาษี บริษัทที่เข้ามาหากินในประเทศ ผ่านช่องทาง online

ใช่ไหม ต้องใช่สิ ใช่ใช่ไหม ?
/ ถ้าเกิดใช่ตามที่คิด ประเทศเรา ไม่ใช่ประเทศแรกนะครับ

เอาตามตรรกะ รัฐบาลไม่มีสิทธิ์เก็บครับ เพราะไม่ใช้เจ้าของโครงสร้างพิ้นฐานนั้น
ประมาณว่ารัฐให้ส้มปทานทางด่วนชลบุรีและนนทบุรี แก่บริษัทหนึ่ง
บริษัทเขาก็ลงทุนสร้างทางด่วนไปแล้วเก็บค่าทางด่วนไปตามปกติ
ต่อมารัฐเห็นว่าทางด่วนสายชลบุรีรถเยอะมากเลย เลยอยากได้เงินค่าทางด่วนสายชลบุรีมาเข้ารัฐ ซึ่งอันนี้มันไม่สมเหตุผลสิ้นดี สิทธิตรงนี้ได้ให้บริษัทไปแล้ว ยังจะมาเรียกใช้สิทธิ์อีก

เอาตาม ตรรกะ ยังไงก็สมควรเก็บนะครับ
คือมันมีบริษัทต่างชาติ ได้รับรายได้จากประชาชนในประเทศไทย
โดยที่รัฐบาล ไม่สามารถเก็บภาษีได้เลย

คิดภาพออกไหม ว่ามันเป็นยังไง

แต่ประเทศไทยไม่รู้มีอำนาจต่อรองมากขนาดไหน

ถ้าตามตรรกะเดียวกัน

เป็นบริษัทชาติไทยทำสตรีมมิ่งเหมือนกัน เสียภาษีแล้ว และต้องเสียค่าใช้จ่ายตามปริมาณข้อมูลอีก ผมยังไม่เห็นความเหมาะสมตรงไหนเลยนะครับ

และถ้าเก็บภาษีจากบ.ต่างชาติไม่ได้ คำถามคือจะให้เค้ามาจ่ายเงินให้เราได้อย่างไรครับ? แต่ประเด็นคือกูเกิลเสียภาษีให้รัฐบาลไทยนะครับ เพราะกูเกิลต้องรับโฆษณาจากลูกค้าในไทย ลูกค้าต้องทำภาษีเช่นกัน นั่นทำให้กูเกิลต้องมีใบกำกับภาษี ซึ่งหมายความว่ากูเกิลต้องเข้าระบบภาษีของไทยอยู่แล้วครับ

และตรรกะเดียวกันนี้ ลองนึกถึงทีวีผ่านดาวเทียมดูครับ ช่องต่างประเทศใช้โครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยเหมือนกัน แต่ไม่มีใครไปเก็บภาษีนะครับ

ผมเห็นด้วยกับการเก็บเงินจากบ.พวกนี้นะ ถ้าหลักการมันถูกต้อง และต้องไม่ใช่เอาหลักการที่ผิดมาตรากฎหมายให้มันถูก แบบนั้นมันกระหายเงินไปหน่อยครับ

อ้อ ... ต่อให้ปรับความเร็วเหลือความเร็วในระดับโมเด็ม 24.4 Kbps ก็ยังต้องใช้โครงสร้างพื้นฐานของไทยนะครับ แถมเก็บเงินไม่ได้ด้วย แต่บ.ต่างชาติก็ได้เงินเท่าเดิมนะ

mytotoe Fri, 04/05/2019 - 10:40

การดู youtube เป็นโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ? fck เอาส่วนไหนคิด

ใส่กรอบเกินไป น่าจะไปตามเก็บกะพวกค่าบริการค่าโฆษณา ที่มันเกะกะผู้ใช้มากกว่ามั้งครับ เก็บแบบนี้ ก็เหมือนชาร์จเงินผู้บริโภคโดยตรง

ผมอ่านไม่เข้าใจหรือคนอื่นไม่เข้าใจ
มันเก็บจากผู้ให้บริการนิ
ถึงแม้จะบอกว่าผู้ให้บริการมันจะผลักภาระมาที่ผู้ซื้อบริการ ถามหน่อยว่าทุกวันนี้จ่ายเงินเล่นเฟส จ่ายเงินเสิร์ซกูเกิ้ลหรอ จ่ายเงินดูยูทูปหรือเปล่า netflix อาจจะจ่ายแต่ไทยถูกกว่าประเทศอื่นหรือ

เคยรู้หรือเปล่าครับว่าที่คุณๆซื้อบริการ netflix อะไรพวกนี้ คุณมีหน้าที่ต้องจ่าย VAT เพราะเขาตามไปเก็บ netflix ไม่ได้

แล้วรู้หรือเปล่าครับสมมติมีบริษัทคนไทยที่ใหญ่ทัดเทียม netflix จ่ายภาษีถูกต้องเท่ากัน คนนึงจ่าย VAT อีกคนไม่ได้จ่าย คิดMargin 30% เท่ากัน ขีดความสามารถการทำกำไรของคนไทยเหลือ 23% กับต่างชาติที่มาหากินในไทยรับไปเต็มๆ 30% ไม่ต้องสนใจจะจ่ายและผลักภาระนี้เป็นของคนซื้อ ห่างกันแค่ VAT นะ 23 กับ 30 สองบริษัทนี้ขีดความสามารถการแข่งขัน/การเติบโตห่างกัน 20-30% เลย

รู้กันหรือไม่ครับว่านานาประเทศ เช่นฝรั่งเศสเขาเริ่มมีกฏหมาย/มาตรการเพื่อมาจัดเก็บเงินจากบ.ข้ามชาติศูนย์บาทแบบนี้แล้ว

ไทยน่ะขาดดุลกับกิจการออนไลน์ที่ไม่สามารถจัดเก็บภาษีรายได้กับบริษัทต่างชาติปีละเป็นแสนล้านครับ และเราขาดดุลมานานมากแล้ว และไม่สามารถเก็บภาษีได้ เคยคิดกันไหมว่า Apple มันเคยจ่ายภาษีให้รัฐมั๊ยล่ะ เกมออนไลน์ต่างชาติที่พวกคุณจ่ายอีก เขาเคยเสียภาษีสักบาทไหม แต่คนหากินคนอื่นเขาเสียกันไง!!! บ.ไทยแท้ถึงเสียเปรียบไง แล้วก็ด่าๆกันว่าคนไทยไม่มีนวัตกรรม ลองเป็นแบบจีนสิตั้งไฟวอลปิดต่างชาติแล้วมาอัพเกรดและยืนด้วยตัวเอง จนตอนนี้สหรัฐหนาวเป็นแถบๆ เพราะเขารู้จักปกป้องผลประโยชน์ไม่ให้รั่วไหลไง

สุดท้ายถึงแม้อันนี้มันคนละส่วนกับภาษีถ้าเก็บภาษีพวกต่างชาติพวกนี้ไม่ได้ เก็บจากตรงนี้ก็ยังดี

บริษัทพวกนี้เค้าจ่าย VAT กันอยู่แล้วครับ

ไอ้ที่อยากได้กันหน่ะคือ Corperate Tax ซึ่งไม่ applicable เนื่องจากเค้าตั้งอยู่นอกประเทศ มีหน้าที่จ่ายภาษี ณ ที่ตั้ง

พอหาหนทางไม่ได้ก็เลยคิดอะไรแปลกๆกันมาเยอะแยะ

ถ้าเก็บภาษีไม่ให้ต้องไปหาทางให้เก็บได้ครับ อย่างนี้มันเกาไม่ถูกที่คัน

ดำเนินการแบบนั้น เจ้าในไทยตายหนักกว่าอีก เพราะโดนทั้งภาษีและโดนทั้งตัวนี้ซ้ำเข้าไปอีก

ผมคาดว่า ถ้ากฎหมายตัวนี้ผ่านจริง เจ้าที่มีสำนักงานและจ่ายภาษีในไทย ไม่น่าอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องจ่ายค่าดังกล่าวครับ ไม่งั้นโดนทรู โดน AIS ยำตายห้าแน่ๆ

สายกูก็ลากเอง โครงสร้างกูก็ลงทุนเอง น่าจะต้องจ่ายภาษีในการลากสาย ต้องจ่ายค่าสัมปทาน รัฐบาลนอนกินอย่างเดียวในฐานะเจ้าของสมบัติของชาติ แล้วยังจะมาเก็บค่าบ้าบอซ้ำซ้อนอ้างว่าใช้โครงสร้างของประเทศอีก

ดูท่าทางว่ารัฐบาลนี้จะหารายได้ไม่เข้าเป้าเนอะ พยายามมาขูดเอาจากประชาชนทุกทางเลย

ปล. กสทช.เลือกถูกคัดมาโดยรัฐบาลทหารครับ อันนี้บอกเม้นอื่นๆ เดี๋ยวจะมาบอกว่าผมกล่าวหาผิดฝาผิดตัว

คนที่บอกว่ามันไม่กระทบถึงผู้ใช้งาน ลองเดาดูนะครับ ถ้าประเทศไทยเป็นที่เดียวในโลกที่มีแบบนี้ สิ่งที่ผู้ให้บริการ content จะทำ ก็ง่ายๆ ครับ คือเริ่มด้วย ระงับหรือลดโควต้าการเชื่อมต่อกับ isp ของประเทศไทยลงในทันที (อาจจะแบบ ยังเชื่อมต่อได้ แต่ช้าสุดๆ อืดจนเกินจะทน หรือถ้าเป็นเว็บสตรีมมิ่งก็จำกัดให้เป็นความละเอียดต่ำสุดเพื่อประหยัดดาต้า)

จากนั้น isp ของไทยที่ต้องการให้บริการต่อ ก็จะต้องทำเรื่องขอเชื่อมต่อข้อมูลกับผู้ให้บริการ content ซึ่งทางนั้นก็คงไม่ยอมให้ฟรีๆ เพราะถ้ายอมให้มีการเชื่อมต่อในปริมาณเท่าเดิมต่อไป นอกจากเขาเสียแบนด์วิธของเซิฟเวอร์แล้วยังต้องจ่ายเงินให้ไทยอีกต่างหาก เผลอๆ จากที่เคยได้กำไรจะกลายเป็นขาดทุนหรือเท่าทุนเอา

ดังนั้นถ้าทางผู้ให้บริการไม่ต้องการแบกรับค่าใช้จ่ายตรงนี้ ก็จะทำสัญญากับ isp ของไทย เป็นระบบเรียกเก็บค่าเชื่อมต่อตามปริมาณข้อมูลที่ฝั่งเขาต้องจ่าย แล้ว isp ของไทย ก็จะมาเก็บเงินส่วนนี้จากผู้ใช้บริการต่ออีกที

ทีนี้จากค่าเน็ตรายเดือนแบบ unlimited ก็จะกลายเป็นราคาแบบ รายเดือน+ค่าบริการเชื่อมต่อข้อมูลไปยังผู้ให้บริการ content ตามปริมาณข้อมูล และแล้วมันก็จะมาพุ่งที่ค่าเน็ตของเรานี่แหละ
คนไทยจะได้ขายไตดู netflix กันหรือไม่ก็มาลุ้นเอา

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png
OneNote
public://topics-images/onenote.png
Windows App
public://topics-images/windows-app.png
Notion
public://topics-images/notion.png
Google Drive
public://topics-images/drive.png
YouTube Kids
public://topics-images/yt-kids.png
Gboard
public://topics-images/gboard.png
DeepSeek
public://topics-images/deepseek_logo.svg_.png
Prince of Persia
public://topics-images/prince-persia.png
Sony
public://topics-images/nq0nd2c0_400x400.jpg
Tencent
public://topics-images/z4xi4oyc_400x400.jpg
Cisco
public://topics-images/jmyca1yn_400x400.jpg
Alibaba
public://topics-images/4axflwia_400x400.jpg
Alibaba Cloud
public://topics-images/qm43orjx_400x400_cloud.png
Coinbase
public://topics-images/consumer_wordmark.png
CarPlay
public://topics-images/carplay.png
Rust
public://topics-images/rust-logo-blk.png
Red Hat
public://topics-images/redhat.png
Anthropic
public://topics-images/anthropic.png
Xcode
public://topics-images/xcode.png
Tim Cook
public://topics-images/tim-cook.jpg
Donald Trump
public://topics-images/trump.jpg
Microsoft Surface
public://topics-images/surface.jpg
Copilot+ PC
public://topics-images/copilotpc.png
Stellar Blade
public://topics-images/stellar-blade.jpg
Snapdragon
public://topics-images/snapdragon_chip.png
Qualcomm
public://topics-images/qualcomm-logo.svg_.png
CoreWeave
public://topics-images/coreweave.png
Ford
public://topics-images/ford.png
Xiaomi
public://topics-images/xiaomi.png
Google Cloud
public://topics-images/google_cloud_logo.svg_.png
PlayStation Network
public://topics-images/psn.png
PlayStation Plus
public://topics-images/ps-plus.png
Windsurf
public://topics-images/windsurf.png
Square Enix
public://topics-images/square-enix.png
MIT
public://topics-images/x7hyjl3t_400x400.jpg
Zoox
public://topics-images/zoox.jpg
Evernote
public://topics-images/1neatidg_400x400.jpg
Magic the Gathering
public://topics-images/magic.png
Call of Duty
public://topics-images/cod.png
NVIDIA
public://topics-images/nvidia_logo.svg_.png
Satya Nadella
public://topics-images/nadella.png
Nintendo
public://topics-images/nintendo.png
Japan
public://topics-images/japan_flag.png
China
public://topics-images/china-flag-sq.png
Sam Altman
public://topics-images/sam-altman.png
SNK
public://topics-images/snk_logo.svg_.png
EPYC
public://topics-images/epyc.png
HPE
public://topics-images/hpe.png
Juniper
public://topics-images/juniper.png
CMA
public://topics-images/cma.png
App Store
public://topics-images/app-store.png
DoJ
public://topics-images/doj.png
Siri
public://topics-images/siri.png
Apple Intelligence
public://topics-images/apple-intelligence.png
Acer
public://topics-images/acer.png
GeForce
public://topics-images/geforce.png
Omen
public://topics-images/omen.png
HP
public://topics-images/hp.png
Alienware
public://topics-images/alienware.png
Dell
public://topics-images/dell.png
Bungie
public://topics-images/bungie.png
Marathon
public://topics-images/marathon.png
Lenovo
public://topics-images/lenovo-2015-svg.png
Intel Arc
public://topics-images/badge-arc-graphics.png