Google

คุณ Kent Walker ที่ปรึกษาของกูเกิลแสดงความคิดเห็นผ่านสำนักข่าวบลูมเบิร์กว่า "อุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีมีปัญหาใหญ่" อันเนื่องจากการต่อสู้ด้วยสิทธิบัตรและใช้กฎหมายเป็นเครื่องมือ เขายังเน้นว่า "สิทธิบัตรซอฟต์แวร์เป็นสิ่งหนึ่งที่ขัดขวางการพัฒนานวัตกรรมใหม่"

คุณ Walker ยังเปิดเผยว่ากูเกิลกำลังมองหาสิทธิบัตรที่บริษัทต้องการซื้อมาเสริมการแข่งขันให้เหนือกว่าคู่แข่ง แต่เขาก็ไม่ได้ให้รายละเอียดว่าว่ากูเกิลจะลงทุนกับการไล่ซื้ออะไรหรือลงทุนมากน้อยเพียงใด ถึงกระนั่นคุณ Walker ยังยืนยันว่า "การซื้อสิทธิบัตรเพื่อการโจมตีคู่แข่งไม่ใช่รูปแบบการต่อสู้ที่ดีนัก แน่นอนคุณอาจไม่ชอบการพูดฝ่ายเดียวของเรา [กูเกิล] แต่หากมองย้อนกลับไปแล้วเราก็ไม่เคยทำสิ่งเหล่านี้มาก่อนเลย"

ก่อนหน้านี้คุณ Eric Schmidt ประธานบอร์ดของกูเกิลได้กล่าวว่า สาเหตุของการที่แอปเปิลได้เริ่มเดินหน้าฟ้องบริษัทผู้ผลิตมือถือ Android แนวหน้าอย่างเอชทีซีและซัมซุงก็เพราะว่าความอิจฉาและขาดการพัฒนานวัตกรรมของตัวเอง (ข่าวเก่า)

ที่มา: สำนักข่าวบลูมเบิร์ก ผ่าน BGR

เว็บไซต์ BGR ก็ได้เหน็บแนมคำพูดของคุณ Walker โดยอ้างข้อมูลจากเว็บไซต์แห่งหนึ่งที่เปิดเผยว่า ก่อนหน้าที่เขาจะออกมาแสดงความคิดเห็นดังที่ปรากฏไปก่อนหน้านี้ กูเกิลได้ใช้เวลาเพียงสองสัปดาห์เท่านั้นในการซื้อสิทธิบัตรกว่า 1,030 รายการ ไล่ไปตั้งแต่สถาปัตยกรรมของหน่วยความจำและหน่วยประมวลผล ไปจนถึงสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้องกับการโปรแกรมตามหลักการเชิงวัตถุ (object-oriented programming) หรือกระทั่งกระบวนการทางธุรกิจ (business process) ด้วยซ้ำไป

ที่มา: SEO by the Sea ผ่าน BGR

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's company cover
CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's
CP AXTRA Lotus's is revolutionizing the retail industry as a Retail Tech company.
Token X company cover
Token X
Blockchain, ICO, Tokenization, Digital Assets, and Financial Service
Carmen Software company cover
Carmen Software
Hotel Financial Solutions
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd. company cover
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd.
We are web design with consulting & engineering services driven the future stronger and flexibility.
United Information Highway Co., Ltd. company cover
United Information Highway Co., Ltd.
UIH is Thailand’s leading Digital Infrastructure and Solution Provider for Business
KKP Dime company cover
KKP Dime
KKP Dime บริษัทในเครือเกียรตินาคินภัทร
Kiatnakin Phatra Financial Group company cover
Kiatnakin Phatra Financial Group
Financial Service
Fastwork Technologies company cover
Fastwork Technologies
Fastwork.co เว็บไซต์ที่รวบรวม ฟรีแลนซ์ มืออาชีพจากหลากหลายสายงานไว้ในที่เดียวกัน
Thoughtworks Thailand company cover
Thoughtworks Thailand
Thoughtworks เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโยลีระดับโลกที่คว้า Great Place to Work 3 ปีซ้อน
Iron Software company cover
Iron Software
Iron Software is an American company providing a suite of .NET libraries by engineer for engineers.
CLEVERSE company cover
CLEVERSE
Cleverse is a Venture Builder. Our team builds several tech companies.
Nipa Cloud company cover
Nipa Cloud
#1 OpenStack cloud provider in Thailand with our own data center and software platform.
CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
CIMB THAI Bank company cover
CIMB THAI Bank
MOVING FORWARD WITH YOU - CIMB is the leading ASEAN Bank
Bangkok Bank company cover
Bangkok Bank
Bangkok Bank is one of Southeast Asia's largest regional banks, a market leader in business banking
Gofive company cover
Gofive
“We create world-class software experience”
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group company cover
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group
KBTG - "The Technology Company for Digital Business Innovation"
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"
Icon Framework co.,Ltd. company cover
Icon Framework co.,Ltd.
Global Standard Platform for Real Estate แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร มาตรฐานระดับโลก
REFINITIV company cover
REFINITIV
The Financial and Risk business of Thomson Reuters is now Refinitiv
H LAB company cover
H LAB
Re-engineering healthcare systems through intelligent platforms and system design.
LTMH TECH company cover
LTMH TECH
LTMH TECH มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยพันธมิตรของเราให้บรรลุเป้าหมาย
Seven Peaks company cover
Seven Peaks
We Drive Digital Transformation
Wisesight (Thailand) Co., Ltd. company cover
Wisesight (Thailand) Co., Ltd.
The Best Choice For Handling Social Media · High Expertise in Social Data · Most Advanced and Secure
MOLOG Tech company cover
MOLOG Tech
We are Modern Logistic Platform, Specialize in WMS, OMS and TMS.
Data Wow Co.,Ltd company cover
Data Wow Co.,Ltd
We enable our clients to realize increased productivity by solving their most complex issues by Data
LINE Company Thailand company cover
LINE Company Thailand
LINE, the world's hottest mobile messaging platform, offers free text and voice messaging + Call
LINE MAN Wongnai company cover
LINE MAN Wongnai
Join our journey to becoming No.1 food platform in Thailand

zerntrinos Fri, 07/29/2011 - 22:35

" กูเกิลได้ใช้เวลาเพียงสองสัปดาห์เท่านั้นในการซื้อสิทธิบัตรกว่า 1,030 รายการ "

ผมว่า Google ถือไว้ดีกว่า Apple MS หรือ Oracle

ถือไว้นะครับ

psemanssc Sat, 07/30/2011 - 03:58

In reply to by zerntrinos

โลกธุรกิจ ยังไงมันก็ต้องแข่งขัน ไม่ว่าเจ้าไหนถือครอง เค้าก็ถือครองเพื่อหวังผลทางธุรกิจอยู่ดี

มันก็มี "วิธีการดำเนินธุรกิจ" แบบที่ "สร้างสรรค์นวัตกรรม" กับ แบบที่ "ทำลายล้างนวัตกรรม" แล้วคนควรจะเชียร์ฝ่ายไหน?

สองสัปดาห์ !! กับการชื้อสิทธิบัตร 1030 ใบ สงสัยชื้อกันง่ายๆ เหมือนโทรสั่งไก่มากินที่บ้านเปล่านิ ?

IBM เป็นอีก 1 บริษัทที่มีน้ำใจงาม

ถ้า IBM มีนโยบายไล่ฟ้องเหมือนกับบริษัทอื่นๆ ในตอนนี้แล้วก็แทบไม่อยากนึกว่าโลกธุรกิจจะวุ่นวายซักแค่ไหน

"สิทธิบัตรซอฟต์แวร์เป็นตัวขัดขวางนวัตกรรมใหม่"

อ่านแล้วงงๆ อ่ะ ไม่ใช่ว่าเพราะมีสิทธิบัตร แล้วเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาใหม่ๆเหรอ ?

คือ สมมุติใครอยากทำอะไร เกิดติดสิทธิบัตร มีคนคิดค้นขึ้นมาแล้ว ก็ไปคิดอะไรใหม่ๆเสีย อย่าให้เหมือน ซ้ำ ของเดิมๆ

ถ้าไม่มีดิ อันไหนใครทำแล้วขายดี ก็ก็อป ทำกันซ้ำๆ สุดท้ายออกมาตัดราคากัน เจ๊งบ้งหมด .....รอวันที่ใครคิดอะไรใหม่ๆขึ้นมา ..... วงจรอุบาทว์

แล้วทำไมไม่เริ่มด้วยตัวเองด้วย 1 ล่ะครับ ???

คิดทำ 1 ไปเรื่อยๆ หลายๆอย่าง มันจะมากกว่า 2 อีกนะครับ น่าภูมิใจด้วย

การไปไล่หา 1 เพื่อมาป้องกันตัวเอง เพื่อไล่ฟ้อง ผมว่ามันออกแนวขี้แพ้ชวนตีซะมากกว่า แทนที่จะเอาเวลาไปคิดทำอะไรใหม่ๆ จริงๆ จังๆ

ผมเข้าใจประเด็นถูกใหมเนี่ย ชักงง

สมมุติ ผมต้องการผลลัพธ์เป็น 5 ผมต้องเริ่มที่ 1 ไปถึง 5 ทั้งๆ ที่ 5 ยังไม่สามารถมีใครพิชิตได้

แต่การที่จะเริ่มต้นใหม่ คงจะมีปัจจัยต่างๆที่หน้าปวดตับและปวดใจ เพื่อที่จะเลี่ยงปัญหาข้างต้นจึงมองหาของฟรี
และ สิ่งนั้นคงเหมาะแก่การนำมาสร้างที่สุดแล้ว ซึ่งกูเกิลคงมีความคิดที่จะนำ แนวคิดในสิทธิบัตรต่างๆ เข้ารวมเป็นสิ่งใหม่อย่างที่เห็นล่ะคับ

! ไม่รู้ผมอธิบายถูกหรือเปล่า สงสัยได้พาไปเที่ยวทะเลแน่เลยฮ่าๆ

ปัญหาคือทำ 1 ไปเรื่อยๆมันจะไม่ถึง 2 นะสิครับ แล้วถ้าไอ้คนที่ถือ 1 อันเดิมอยู่ ที่เอาไปทำ 2 ได้ เกิดไม่อยากทำ 2 ขึ้นมาล่ะ

ปัญหาคือมันเป็นเกม

มันคือเกมห้ามนับซ้ำคนอื่น แล้วก็ดันมีคนนับ 1 ไปแล้วในหลายๆ เกม แม้จะอยากนับก็ได้แต่แค่อยาก เพราะกฏมันบังคับ

ถ้าไปนับซ้ำคนอื่นในเกมนั้นๆ ก็โดนฟ้อง

ง่ายที่สุดก็ซื้อสิทธิในการนับ 1 จากคนที่นับแล้วมาเป็นของตัวเอง

ปล.เปรียบเทียบกับการนับ 1 มันเป็นสิ่งที่ดีมาก เพราะใครๆ ก็คิดว่าตัวเองมีสิทธิที่จะนับ 1 แต่หลายๆ ครั้งในหลายๆ เกมมันก็ดันมีคนบ้าจี้ไปรับรองสิทธิ "ฉันมีสิทธินับ 1 คนเดียว"

สิทธิที่มันครอบจักรวาลแบบนี้เฮียปล่อยมาได้ไงครับ

มันไม่ใช่เด็กเลือกทำรายงานส่งอาจารย์ครับจะได้ง่ายขนาดนั้น ธุรกิจโหดร้ายกว่านั้นเยอะ

เพราะเวลาเขาจดสิทธิบัตรจะไม่ได้จดง่ายๆแค่ของที่ตัวเองทำ บางทีจะจดไว้กว้างมาก เช่น ทำจักรยานขึ้นมาแต่กำหนดว่าเป็นรถ 2 ล้อ ถ้าวันนึงคนทำรถมอเตอร์ไซขึ้นมาก็โดนครับ(ของจริงจะมีรายละเอียดกว่านี้นะครับอันนี้ตัวอย่าง) ถ้าเจตนาดีแค่คุ้มครองสิ่งที่ตัวเองสร้างพอใครทำอะไรที่ไม่เหมือนของตัวเองจนเกินไปแล้วไม่ฟ้องอันนี้ก็โอเค แต่ประเด็นตอนนี้คือมันบางกลุ่มฟ้องกันแหลกครับอันเกี่ยวเอาหมด จริงๆผลว่าจะพัฒนาไม่พัฒนามันก็ต้องดูที่เจตนาแหละ

ถ้าบริษัทใหญ่ๆโดนก็สู้กันไปแต่ถ้าบริษัทเล็กโดนฟ้องแล้วบริษัทเหมือนโดน freeze ไว้ทั้งบริษัทอันนี้ลองคิดดูว่าบริษัทที่เพิ่ง startup หรือยังโตไม่พอโดนไปแป๊ปเดี๋ยวก็ล้มแล้วครับ ส่วนบริษัทใหญ่ๆแทนที่เขาจะจ้างแค่โปรแกรมเมอร์ต้องมาจ้างทีมกฏหมายอีกเท่าไหร่ ลองคิดเป็น cost ในการพัฒนาดูครับคิดง่ายๆก็เงินเดือนทีมกฏหมายปีนึงเท่าไหร่ไปแล้ว ไหนจะบางอันที่มันเสี่ยงจะโดนหรือไม่โดนที่เขาเลือกจะไม่มาจับอีก

อีกประเด็นก็คงเป็นเรื่องว่าถ้าเขาจะเริ่มจาก 1 ใหม่ลองคิดดูว่าถ้า product มันพร้อมขายที่ 10 กว่าบริษัทจะได้กำไรจากการลงทุนครั้งนี้มันยาวขนาดไหน สมมุติถ้าคุณจะพัฒนาซอฟต์แวร์ที่รันบน Java แล้วภาษานี้มีสิทธิบัตรคุณจะคิดง่ายๆว่างั้นทำภาษาใหม่สิงั้นหรอ ถ้า ณ วันนี้ภาษา C ยังเป็นสิทธิบัตรเฉพาะของที่ไหนซักที่ไม่ให้ที่อื่นเอาไปใช้แล้วยังไม่มีใครมีเงินมาลงทุนพัฒนาภาษาอื่นแทนคงนั่งเขียนเว็บด้วย assembly กันงั้นสิครับ ถ้ามันขำๆแบบเขียนโปรแกรมแข่งกับเพื่อนคงคิดง่ายๆแค่ว่ามันน่าภูมิใจได้ครับ

การปกป้องนักพัฒนามันก็ต้องมีแต่ว่าถ้ามีใครใช้ช่องแบบนี้ก็จะเป็นอย่างที่เขาว่าในข่าวนั่นแหละครับ

ผมว่าเอามาเทียบกันลำบากอยู่น้ออ นั่งฟังตั้งนาน สุดท้ายก็แค่เพราะมันควบคุมลำบาก เรื่องการตัดเย็บ การเลือกใช้เนื้อผ้า แต่สุดท้ายก็ยังติดลิขสิทธิ์ที่โลโก้อยู่ดี

ถ้าออกแบรนด์ตัวเอง LV เหมือนหลุยส์ ขายกระเป๋า แต่ของผมย่อมาจาก Level up ได้ใหม ตัดเย็บให้ดีกว่า จุได้มากกว่า ถือว่าเป็นการหยิบไปพัฒนาหรือ 1+1 ได้ใหมครับ
ขายไม่ดีก็คงเหมือนกระเป๋าก็อปทั่วไปแบบในคลิปกล่าวถึง

แต่สมมุติว่า ขายดีจริง ตีตลาดโลกได้จริงๆ ขายดีจนหลุยส์จริงไม่มีคนซื้อ เค้าจะมาฟ้องผมใหมครับ

ขนาดทุกวันนี้มีลิขสิทธิ์ ยังมี ipod iphone ปลอม(ทำเหมือน)มาให้ได้เลือกใช้เลย คาดว่ามาจากการต่อยอด เสิรมสร้างจินตนาการจากแบนด์ดังๆเช่นกัน ซึ่งผมว่ามันก็กรณีเดียวกับ Neki DKYN Frada coocci นั่นแหละ

ถามกลับว่า ถ้าในของ 1 ชิ้นอาจจะประกอบด้วยน 108 1009 นวัตกรรม
และ 1 ในนั้นเป็นนวัตกรรม "ใหม่" ที่คุณคิดขึ้น 107 1008 ที่ไปเอาของเขามา ทำไง?

ผมเชื่อว่าทุกวันนี้มันก็เป็นอย่างนั้นอยู่นะครับ โดนจับไม่ได้ก็แล้วไป โดนจับได้ก็โดนฟ้อง เรียกค่าเสียหายกันไป วินโดวส์ ยังมี ไลเซนส์เลย จะไม่ให้ค่านวัตกรรมทางความคิดเลย ฤ

แล้วสมมุติว่า ไปเอาของคนอื่นมา 107 1008 จริงๆ ก็อย่าทำมันเลยครับ ไม่มีอะไรเป็นของตัวเองเลยซะขนาดนั้น ไปขายเต้าฮวยดีกว่า

เต้าฮวยมีลิขสิทธิ์ป่าวหว่า ???

license วินโดว์สำหรับผู้ใช้งานต้องจ่ายครับ ส่วนสิทธิบัตรสำหรับผู้ผลิต ผมว่าคนละอย่างกัน
แล้วนวัตกรรมใหม่ 1 อย่างที่คุณคิดขึ้นมาได้ ที่ผมถามไป มันหายไปได้ยังไงหว่า....

"สิทธิบัตรซอฟต์แวร์เป็นตัวขัดขวางนวัตกรรมใหม่"

อ่านแล้วงงๆ อ่ะ ไม่ใช่ว่าเพราะมีสิทธิบัตร แล้วเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาใหม่ๆเหรอ ?

คือ สมมุติใครอยากทำอะไร เกิดติดสิทธิบัตร มีคนคิดค้นขึ้นมาแล้ว ก็ไปคิดอะไรใหม่ๆเสีย อย่าให้เหมือน ซ้ำ ของเดิมๆ

ถ้าไม่มีดิ อันไหนใครทำแล้วขายดี ก็ก็อป ทำกันซ้ำๆ สุดท้ายออกมาตัดราคากัน เจ๊งบ้งหมด .....รอวันที่ใครคิดอะไรใหม่ๆขึ้นมา ..... วงจรอุบาทว์

ผมเห็นคุณงงๆ เลยตั้งคำถามให้ลองตอบเผื่อจะหายงง

platalay Fri, 07/29/2011 - 22:43

ดี จะได้เอาไว้เป็นเกราะป้องกันตัวมั่ง

ปล.อย่าไปไล่ฟ้องคนอื่นโดยที่ยังไม่ได้ผลิตซะละ

การจดสิทธิบัตร ของ IT รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ

ต่อไป รายย่อยๆ คงไม่มีทางเกิดใหม่ได้แล้ว
แค่จดชื่อตั้งบริษัท ก็โดนฟ้องแล้ว

มันจะขัดขวางก็ต่อเมื่อ เจ้าของสิทธิบัตร ไม่ยอมพัฒนานวัตกรรมของตัวเองแต่พอคนอื่นพัฒนาได้ก็ไปฟ้องขัดขวางเขาสะนี่ - -

เห็นด้วยกับ Google นะ

แต่อีกมุมนึง ก็ต้องปกป้องคนที่เค้าอุตส่าหคิดค้นมันขึ้นมาจริง ๆ ด้วย กฎหมายนี้ คิดว่าตั้งใจร่างขึ้นมาเพื่อปกป้องคนที่คิดค้นนวัตกรรม แต่คนนั่นเอามาใช้หักล้างกัน มันก็เลยเป็นเช่นนี้นี่แหละ

สรุป ผมอยากจะบอกว่ากฎหมายเรื่องสิทธิบัตร ควรจะปรับปรุงได้แล้วนะ เพราะถ้าสถานการณ์ไล่ซื้อสิทธิบัตร ไล่จดสิทธิบัตร แล้วไปฟ้องบริษัทนั่น นี่ไปทั่ว มันคือเครื่องมือขัดขวางการคิดค้นใหม่ ๆ จริง ๆ

สิทธิ์บัตรมันจะทำลายเศรษฐกิจป่าวอ่ะ
ซื๊อกันเป็นล้าน แต่ไม่ได้มีผลิตภัณฑ์อะไรออกมาจริง ได้แต่สิ่งสมมุติขึ้น
เหมือนเกิดเงินเพิ่มเข้ามาในระบบปริมาณมากทั้งที่จริงๆ ก็ไม่ได้มีสินค้าอะไร

จุดประสงค์ของกฏหมายข้อนี้คือการปกป้องไอเดียและผลงานที่ได้ค้นค้วาคิดค้นและสร้างขึ้นมาใหม่ แต่พอมาเจอแบบขอจดทะเบียนจากไอเดียที่คิดได้แบบกว้างๆแต่ยังส้รางไม่ได้จริงด้วยซ้ำหรือการจดทะเบียนจากความสามารถพื้นฐานทั่วไปที่ยังไมมีใครไปขอจดทะเบียนก่อนพอมีคนไปจดทีหลังแต่ได้การรับรองมาก็กลายเป็นจุดอ่อนของกฏหมายข้อนี้ทันที ไม่แปลกหรอกครับที่ google จะออกมาวิจารณ์อย่างนี้เพราะกฏหมายข้อนี้เริ่มถูกนำมาใช้อย่างผิดจุดประสงค์หลักที่ตั้งไว้แต่แรก

....ผมมองไอ้พวกที่มีสิทธิบัตรอยู่ในมือแล้วไม่ก่อให้เกิดการพัฒนาเนี่ยสู้ให้คนที่เค้าเอาไปพัฒนาได้ไม่ดีกว่าเหรอดีกว่ามาห่วงผลประโยชน์ที่ตัวเองคิดไม่ได้ทำก็ไม่ได้แถมจดไว้กว้างๆ เหมือนจะรอดักฟ้องอย่างเดียว

มันวนเป็นงูกินหางอะครับ

ค่ายใหญ่ๆ มีสิทธบัตรเยอะ ไช้เป็นเครื่องมือกีดกันไม่ให้มีคู่แข่ง ลอบบี้ให้สิทธ์บัตรอยู่ใด้นานๆ เพราะเป็นผลประโยชน์

ค่ายเล็กๆ อยากทำ แต่ไม่มีทุนไม่มีตลาด โดนกีดกัน ก็ต้องไช้วิธีจดสิทธบัตรหาเงิน

ดูจากจำนวนแล้ว ผมว่าไม่ได้ขัดขวางนวัตกรรมหรอกคับ แต่ขัดขวางการทำกำไรของกูเกิ้ลมากกว่า
มีเงินเยอะพอที่ซื้อสิทธิบัตรขนาดนั้น ถ้ารู้ว่าติดสิทธิบัตรของคนอื่นจริงก็ควรยอมจ่ายนะครับ มันน่าจะเป็นธุรกิจมากกว่า นวัตกรรม

กูเกิ้ลลงทุนเพื่อปกป้องตัวเองจากการฟ้องฝ่ายเดียว ส่วนบริษัทอื่นๆบางบริษัทอย่าง Oracle ลงทุนเพื่อฟ้องคนอื่นเป็นหลักส่วนปกป้องตัวเองเป็นเรื่องรอง

gain จากการลงทุนด้านสิทธิบัตรของกูเกิ้ลจึงน้อยกว่าของบริษัทอื่นๆมากครับ

เพราะกูเกิลฉลาด และมีวิธีทำเงินจากสิทธิบัตรเหล่านั้นด้วยวิธีที่แยบยลกว่าครับ

ส่วนบริษัทอย่างออราเคิลก็รอกูเกิลทำเสร็จ

แล้วตรูก็ฟ้อง...

pines Sat, 07/30/2011 - 12:36

In reply to by PaPaSEK

GG ช่ำชองในการใช้ประโยชน์จากสิทธิบัตรซอฟท์แวร์ แต่ไม่ต้องการจ่ายค่าสิทธิบัตรซอฟท์แวร์ ?

ถ้าผมคิดอะไรใหม่ๆได้แต่ผมไม่มีเงินทุนทำ บริษัทใหญ่ๆมีเงินทุน ถ้าไม่มีการคุ้มครองสิทธิบัตร ผมก็อาจโดนขโมยไอเดียไปฟรีๆสิ

ถามว่า คุณยังคิดอะไรใหม่ๆ ที่ไม่ทับซ้อนหรือเป็นการต่อยอดสิทธิบัตรเดิม(ที่จดไว้แสนกว้าง)ได้หรือครับ?

ผมเชื่อว่ายังมีอีกเยอะนะ ทุกวันนี้ก็ยังเห็นโชว์ เห็นจดใหม่กันอยู่เรื่อยๆนี่ครับ ถ้ามันไม่มี หรือไม่หาอะไรใหม่ๆไม่ได้จริง มันคงหยุดจดกันไปนานแล้ว

ว่ามั้ยครับ ?

  1. การจดในปัจจุบันเป็นการต่อยอดจากของเดิมของตนเองทั้งนั้นนี่ครับ?
  2. การจดของบริษัทหน้าใหม่เพื่อ produce ผลิตภัณในระยะยาวนั้น ปัจจุบันแทบจะไม่มีเลยนะครับ(จริงๆพูดได้ว่าไม่มีเลยด้วยซ้ำ) เกือบทั้งหมดเป็น patent trolls หรือล้มแล้วรอให้คนอื่นมาซื้อต่อ
  3. ถ้าถามว่าบริษัทเล็กๆทำไมถึงล้ม ก็เพราะระบบสิทธิบัตรนี่แหละครับ ทำนี่ก็ไม่ได้ นั่นก็ไม่ได้
  4. สุดท้ายบริษัทเล็กๆก็จะตายหรือโดนซื้อไปหมด เรา(ผู้บริโภค)เข้าใกล้คำว่า monopoly เข้าไปทุกวัน

ต่อไปคงมีคณะวิศวกรรมสิทธิบัตร วันๆไม่ต้องทำอะไรนั่งคิด วาดๆ เขียนๆ
แล้วไปจดสิทธิบัตร ได้รายได้จากการส่งสิทธิบัตรตัวเองประมูล

หวังว่าคงไม่ถึงขั้นนั้นละครับ

แค่ตอนนี้กับที่ผ่านมา บริษัทใหญ่ๆ ไล่ซื้อบริษัทที่มีสิทธิบัตรเยอะ เพื่อหารายได้จากการฟ้องกัน

แนวคิดเดิมที่เป็นการปกป้องสิทธิ์ก็กลายเป็นธุรกิจบนตัวสิทธิบัตรไม่ใช่จากสิ่งที่จะพัฒนาจากสิทธิบัตรนั้น ก็แย่พอดูแล้วครับ

ต้องแยกระหว่างแนวคิดการจด กับลักษณะการจด ส่วนตัวคิดว่าแนวคิดนั้นถูกแล้ว แต่ลักษณะ/วิธีการพิจารณาอาจต้องปรับปรุง

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
NVIDIA
public://topics-images/srvczsfq_400x400.jpg
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png