Thailand

เว็บไซต์ เราไม่ทิ้งกัน.com เผยแพร่เอกสารทำความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิ์เงินช่วยเหลือ 5,000 บาทต่อเดือน โดยเอกสารมีหลายฉบับ ทั้งอาชีพที่จะได้รับเงินช่วยเหลือเป็นชุดแรก และอาชีพที่หมดสิทธิ์รับเงินช่วยเหลือ

สำหรับอาชีพที่หมดสิทธิ์รับเงินช่วยเหลือ ได้แก่ ข้าราชการ, เกษตรกร, ผู้ค้าขายออนไลน์, โปรแกรมเมอร์, และคนงานก่อสร้าง โดยมีเงื่อนไขอื่นที่ไม่ใช่อาชีพโดยตรงและไม่ได้สิทธิ์เช่นกัน เช่น เป็นคนว่างงานก่อนเกิด COVID-19, อายุไม่ถึงเกณฑ์ , หรือได้รับชดเชยทางอื่น เช่น เกษตรกร

ข้อมูลระบุว่าโปรแกรมเมอร์ไม่ได้รับผลกระทบ เพราะเป็นอาชีพที่ยังมีความยืดหยุ่น ทำงานที่ใดก็ได้ ไม่ได้รับผลกระทบโดยตรงจาก COVID-19

ถ้าใครได้รับผลกระทบแล้วบ้าง โดยเฉพาะถึงระดับหยุดงาน มาเล่าสู่กันฟังได้ครับ

ที่มา - wedonotleave.appprompt.com ผ่านทาง เราไม่ทิ้งกัน.com

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's company cover
CP AXTRA Public Company Limited - Lotus's
CP AXTRA Lotus's is revolutionizing the retail industry as a Retail Tech company.
Token X company cover
Token X
Blockchain, ICO, Tokenization, Digital Assets, and Financial Service
Carmen Software company cover
Carmen Software
Hotel Financial Solutions
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd. company cover
Next Innovation (Thailand) Co., Ltd.
We are web design with consulting & engineering services driven the future stronger and flexibility.
United Information Highway Co., Ltd. company cover
United Information Highway Co., Ltd.
UIH is Thailand’s leading Digital Infrastructure and Solution Provider for Business
KKP Dime company cover
KKP Dime
KKP Dime บริษัทในเครือเกียรตินาคินภัทร
Kiatnakin Phatra Financial Group company cover
Kiatnakin Phatra Financial Group
Financial Service
Fastwork Technologies company cover
Fastwork Technologies
Fastwork.co เว็บไซต์ที่รวบรวม ฟรีแลนซ์ มืออาชีพจากหลากหลายสายงานไว้ในที่เดียวกัน
Thoughtworks Thailand company cover
Thoughtworks Thailand
Thoughtworks เป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโยลีระดับโลกที่คว้า Great Place to Work 3 ปีซ้อน
Iron Software company cover
Iron Software
Iron Software is an American company providing a suite of .NET libraries by engineer for engineers.
CLEVERSE company cover
CLEVERSE
Cleverse is a Venture Builder. Our team builds several tech companies.
Nipa Cloud company cover
Nipa Cloud
#1 OpenStack cloud provider in Thailand with our own data center and software platform.
CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
CIMB THAI Bank company cover
CIMB THAI Bank
MOVING FORWARD WITH YOU - CIMB is the leading ASEAN Bank
Bangkok Bank company cover
Bangkok Bank
Bangkok Bank is one of Southeast Asia's largest regional banks, a market leader in business banking
Gofive company cover
Gofive
“We create world-class software experience”
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group company cover
KBTG - KASIKORN Business-Technology Group
KBTG - "The Technology Company for Digital Business Innovation"
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"
Icon Framework co.,Ltd. company cover
Icon Framework co.,Ltd.
Global Standard Platform for Real Estate แพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร มาตรฐานระดับโลก
REFINITIV company cover
REFINITIV
The Financial and Risk business of Thomson Reuters is now Refinitiv
H LAB company cover
H LAB
Re-engineering healthcare systems through intelligent platforms and system design.
LTMH TECH company cover
LTMH TECH
LTMH TECH มุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถช่วยพันธมิตรของเราให้บรรลุเป้าหมาย
Seven Peaks company cover
Seven Peaks
We Drive Digital Transformation
Wisesight (Thailand) Co., Ltd. company cover
Wisesight (Thailand) Co., Ltd.
The Best Choice For Handling Social Media · High Expertise in Social Data · Most Advanced and Secure
MOLOG Tech company cover
MOLOG Tech
We are Modern Logistic Platform, Specialize in WMS, OMS and TMS.
Data Wow Co.,Ltd company cover
Data Wow Co.,Ltd
We enable our clients to realize increased productivity by solving their most complex issues by Data
LINE Company Thailand company cover
LINE Company Thailand
LINE, the world's hottest mobile messaging platform, offers free text and voice messaging + Call
LINE MAN Wongnai company cover
LINE MAN Wongnai
Join our journey to becoming No.1 food platform in Thailand

ไม่รู้จะพูดว่ายังไงกับการที่รัฐคิดว่าโปรแกรมเมอร์ทำงานที่ไหนก็ได้ แล้วจะไม่ได้รับผลกระทบ จึงไม่ต้องได้รับสิทธิ

ทั้งๆ ที่บริษัทที่โปรแกรมเมอร์ทำงานก็มีสิทธิเจ๊งได้เหมือนๆ กับบริษัทอื่นเพราะพิษ COVID-19

ผมเองถูกบังคับ leave without pay และถูกตัดเงินเดือนแล้ว 20% และมีโอกาสจะตกงานด้วย ซึ่งผมเข้าใจเหตุผลของบริษัทดี ในเวลาแบบนี้หางานไม่ง่าย เพราะลูกค้าของโปรแกรมเมอร์เองก็ตายกันหมด

แต่ที่ไม่เข้าใจและไม่สบายใจคือ ผมเห็นว่าตัวเองกำลังจะตกงานรำไร แต่รัฐบาลคิดว่าอาชีพของผมไม่ควรได้รับเงินช่วยเหลือเพราะงานผมยืดหยุ่น

ยังไงคุณเป็นพนักงานประจำผ่าน ปกส ไม่ว่าคุณจะทำอาชีพอะไรคุณก็ไม่มีสิทธิ์ได้เงินก้อนนี้อยู่แล้วปะครับ

ถูกครับ ผมไม่มีสิทธิเพราะผมเป็นพนักงานประจำ แต่โปรแกรมเมอร์ท่านอื่นๆ ที่ไม่ได้เป็นพนักงานประจำควรได้นี่ครับ โปรแกรมเมอร์ไม่ได้มีผมคนเดียวในประเทศนะครับ

อันนี้ผมคิดว่าหลายคนก็ทำตามนี้ครับ แต่ถ้ารัฐตรวจเจอว่าเป็นโปรแกรมเมอร์ ก็คืออดถูกมั้ย?

อันนี้ถามนะครับ ผมไม่รู้ว่าผมเข้าใจผิดหรือถูก

อันนี้ผมไม่เห็นด้วยนะ เพราะมันไม่ใช่อาชีพที่ยืดหยุ่นอะไรเลย ยกเว้นว่าถ้าเป็นพนักงานประจำ ยังพอไปได้

แต่หากเป็น Freelance หรือลูกจ้างอิสระ ไม่มีงาน ไม่มีเงินเลยนะครับ แถมบางงาน ไม่สามารถมาทำที่บ้านได้ เพราะข้อมูลของลูกค้าเป็น Confidential หรือสำคัญมาก ๆ

เป็น Programmer ไม่ใช่เรื่องง่ายนะครับ

โปรแกรมเมอร์ในที่นี้ เค้าหมายถึงโปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ์ด้วยนะครับ
เพราะทุกอาชีพที่จ่าย ปกส ไม่มีสิทธิ์ได้เงินก้อนนี้ทุกกรณีอยู่แล้ว

ทีนี้เรามองว่า โปรแกรมเมอร์ที่ทำฟรีแลนซ์ เป็นอาชีพรับจ้างทั่วไปได้มั้ย?

โปรแกรมเมอร์ที่ทำฟรีแลนซ์แบบไร้สังกัด เวลานำส่งภาษีส่วนใหญ่เป็นลักษณะจ้างทำของครับ หรือทำงานรับจ้างทั่วไปนั้นแหละ เอาจริงๆ เข้าข่ายจ้างเหมาบริการของภาครัฐเลยด้วยซ้ำ ไม่มีสวัสดิการใดๆ นอกจากสิทธิ์ประกันสุขภาพทั่วหน้า ทำงานรายได้ตามความขยัน

forl Wed, 04/08/2020 - 10:08

อ๋อ คือบริษัทที่จะจ้างโปรแกรมเมอร์ไม่มีทางได้รับผลกระทบเลยว่างั้น? หรือคิดว่าโปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ์จ้างตัวเองได้ถึงได้บอกว่าที่ไม่ให้เพราะทำงานที่ไหนก็ได้

ใครเป็นโปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ์นี่อยู่ยากจริง ๆ

หนึ่งในผลกระทบคือ คนว่างงานแล้วต้องการทำงาน อันเนื่องมาจากทางบ้านได้รับผลกระทบต่างๆ ตอนนี้ก็หางานได้ยากขึ้น แต่ก็ไม่ได้รับการเยียวยา

สงสัยโปรแกรมเมอร์สามารถเสกเงินใช้เองได้ วันๆนั่งเขียนแค่โค๊ดก็ได้เงินได้ทันทีเลย
ไม่ต้องออกไปหาลูกค้า ไม่ต้องเข้าประชุมพบปะกับใคร ไม่ต้องมีคนมาจ้าง ก็อยู่ได้มั้งครับ
#ร้องไห้

น่าจะยังไม่ได้รับผลกระทบจริงๆ ครับ ยังมีงานทำอยู่ แต่มันมีโปรแกรมเมอร์ที่บริษัทกระทบระดับเลิกจ้าง หยุดงาน โดยเฉพาะ freelance ที่อยู่นอกระบบประกันสังคมแล้วไม่มีงานเข้า ทั้งที่กลุ่มนี้ก่อนหน้านี้ก็้เสียภาษีเหมือนกันนี่ล่ะครับ

คิดต่างกับผมแฮะ ผมว่าโปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ์ น่าจะเอาตัวรอดได้อยู่นะเพราะพวกนี้มักจะเผื่อเงินเก็บไว้เสมอ เพราะงานไม่ได้มีมาทุกวัน คิดว่ากลุ่มนี้ไม่น่าห่วง ห่วงก็แต่โปรแกรมเมอร์ตามบริษัทเถอะครับ ที่ฐานเงินเดือนสูง แล้วยังกู้บ้าน กู้คอนโดราคาสูงตามไปอีก โดยเฉพาะกลุ่มเด็กจบใหม่

ถ้าคิดแบบนั้นก็เหมารวมลูกจ้าง บ. พนักงานเงินเดือน บัญชี จัดซื้อ ธุรการ แม่บ้านสำนักงานไปเลยเถอะ ไม่ต้องยกคำว่า programmer ขึ้นมาก็ได้

เอาจริงๆ ประเด็นของข้อถกเถียงคือ การอ้างถึงผลกระทบของคนทำงาน freelance ซึ่งคุณต้องมองภาพรวมของคนอาชีพอื่นๆ ที่เข้าข่ายด้วย เช่น พวก graphics designer ฯลฯ

โปรแกรมเมอร์บริษัทก็คือพนักงานบริษัทที่มีประกันสังคมรองรับ ก็ต้องไปเข้าข่ายชดเชยจากประกันสังคมซึ่งมีให้อยู่แล้วในกรณีโดนลดค่าจ้าง/เลิกจ้าง

ค่าผ่อนบ้าน ผ่อนคอนโด ถ้าศึกษาซักนิด ตอนนี้หลายๆธนาคารมีโปรแกรมผ่อนผันให้ไปสมัครได้ (แต่อยากบอกว่าแต่ละโปรแกรมของแต่ละธนาคารนี่ไม่ได้ใจดีนักหรอกครับ)

เราเข้าแบบไหนกรณีไหนก็ไปรับเอาตามที่มีให้ครับ

"เว็บนี้" นี่หมายถึงเว็บ "เราไม่ทิ้งกัน.com" นี่นะครับ ก็น่าจะเป็นกลุ่มคนที่มีงานทำอยู่นะครับ ทำไมเขาจะไม่ได้เงิน?

คุณเหมาคิดเอาเอง
คนในบ.ถ้ามีวินับทางการเงินก็ต้องมีเงินสำรองอยู่เหมือนกัน

ปัญหาของเรื่องนี้มันไม่ใช่ว่ามีเงินสำรองอยู่หรือไม่
ปัญหาคือมันไม่มีงานไม่มีรายได้จากภาวะปัญหาตอนนี้ซึ่งมันกระทบทุกส่วนนั่นล่ะ

กลับมาดูอีกทียาวเลยแฮะ

เรื่องเงินสำรอง ผมไม่รู้จะพูดไงนะครับ แต่ในฐานะที่เคยทำฟรีแลนซ์มาบ้าง ฟรีแลนซ์คนไหนไม่คิดเรื่องเงินสำรองอย่างน้อย 3-6 เดือน คุณเตรียมตัวตายได้เลย เพราะว่าเจอมาหมดแล้ว จ่ายเงินช้าบ้าง แก้งานเพิ่มบ้าง

ส่วน reply คุณหลิว
Q: "เว็บนี้" นี่หมายถึงเว็บ "เราไม่ทิ้งกัน.com" นี่นะครับ ก็น่าจะเป็นกลุ่มคนที่มีงานทำอยู่นะครับ ทำไมเขาจะไม่ได้เงิน?
A: ผมมองในมุมตัวเองครับ ว่าอุตส่าห์ทำเว็บให้ไปแล้วถึงจะเป็นงานต้องทำก็เถอะ ก็หวังเล็กๆ แหละครับว่าจะได้บ้าง เงิน 5000 นะครับ ไม่ใช่เงินเดือนประจำ เหมือนเงิน 2000 สมัยอภิสิทธิ์เพราะภาษีเราก็จ่ายมันทุกปี

ส่วนเรื่องหนี้ สุดแล้วแต่เวรกรรมแล้วล่ะครับ สร้างเยอะก็ต้องแก้เอง ต้องไปคุยกับเจ้าหนี้ดูว่ามีมาตรการช่วยเหลืออะไรบ้าง จริงๆ มันมีประเด็นอื่นๆ อีกเยอะ แต่อย่างว่าช่วงนี้รัฐทำงานกันแปลกๆ ได้แค่นี้ก็มหัศจรรย์แล้วครับ ผมยังงงอยู่ด้วยซ้ำว่าประเทศนี้มันตั้งอยู่ได้เพราะอะไร

สิ่งที่คุณว่ามามันคือการบริหารจัดการทางการเงินในอุดมคติ มันคือสิ่งที่คนทุกคนควรทำและควรเป็น ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะหรืออาชีพไหนๆ ครับ ทำไมคุณถึงคิดว่าทุกคนจะสามารถจัดการเรื่องนี้ได้ดีทุกๆ คนล่ะครับ ตรงนี้แค่สงสัย

ฟรีแลนซ์คนไหนไม่คิดเรื่องเงินสำรองอย่างน้อย 3-6 เดือน คุณเตรียมตัวตายได้เลย เพราะว่าเจอมาหมดแล้ว จ่ายเงินช้าบ้าง แก้งานเพิ่มบ้าง

ซึ่งก็มีโอกาสที่เค้าจะอยู่ในช่วงที่ถูกจ่ายเงินช้าและแก้งานเพิ่มเลยกำลังใช้เงินสำรองที่ว่าด้วยนะครับ หรือต่อให้กำลังอยู่ในช่วงที่มีเงินสำรองอยู่พอดีแต่มันก็ทำให้เงินขาดมือได้เหมือนกัน แล้วกว่าจะเริ่มกลับไปทำงานได้เป็นปกติอีก

เงินสำรอง 3-6 เดือน นี่คือสำรองไว้ใช้สำหรับสถานการณ์ทั่วไปนะ

พอหลุด covid-19 เที่ยวนี้แล้ว เงินสำรองอาจจะเป็น 0 เลยก็ได้ แต่ยังต้องมารับความเสี่ยงแบบเดิมต่อไป

เอาจริงๆ อันนี้มันไม่ใช่แค่โปรแกรมเมอร์ฟรีแลนซ์ครับ
ฟรีแลนซ์ทุกคนก็ควรเผื่อเงินเก็บเสมอ
เพราะฉะนั้น ตามตรรกะนี้ คือ ฟรีแลนซ์ ไม่ควรได้เงินตรงนี้
เพราะต้องเผื่อเงินเก็บไว้ทุกคน ไม่น่าเป็นห่วง
ดีไม่ดี ตีเป็นทุกอาชีพ ควรเผื่อเงินเก็บไว้เสมอ นี่รัฐไม่ต้องจ่ายช่วยเหลือสักบาทเลย

วินัยการเงินเป็นเรื่องส่วนบุคคล ไม่เกี่ยวอะไรกับการที่รัฐฯ​ จะต้องมีนโยบายช่วยเหลือครับ

วินัยการเงินเป็นส่วนที่จะเป็นมาตรการในกรณีที่รัฐไม่ให้ความช่วยเหลือ และเราไม่ได้กำลังพูดคุยในประเด็นวินัยทางการเงินครับ เรากำลังพูดถึงสวัสดิการที่ควรได้จากรัฐฯ

ฉะนั้นไม่ควรแสดงความเห็นไปในแนวทางเหมือนโทษคนไม่มีวินัยทางการเงินนะครับ อาจจะโทษหรือไม่ได้โทษ อาจแค่เปรียบเทียบ หรืออาจแค่แนะนำ แต่มันไม่เกี่ยวอะไรกับสวัสดิการของรัฐอยู่ดีครับ

ตัวอย่างเทียบเคียง อาจไม่เหมือนกัน ... ถ้ามีกรณีข่มขืนเกิดขึ้น แล้วเหยื่อดันบังเอิญไปอยู่ในจุดที่ทุกคนรู้ว่าเสี่ยง การพูด fact ว่าเหยื่อไม่ควรเอาตัวเองไปอยู่ตรงนั้น แม้นั่นจะเป็นการพูดที่ถูกต้อง และเป็น fact แต่มันก็เหมือนการโทษเหยื่ออยู่ดีครับ

หวังว่าจะเข้าใจที่ผมสื่อ

Wang_Peter Wed, 04/08/2020 - 11:10

ถ้า programmer ที่ได้รับผลกระทบ แต่ไม่ได้รับการเยียวยามารวมตัวกันเข้าไป hack ระบบสำคัญๆของประเทศ แล้วยึดอำนาจได้ขึ้นมา สนุกล่ะคราวนี้

ผิดตรงที่เหมารวม และใช้คำว่าทำงานที่ไหนก็ได้เลยไม่ได้รับผลกระทบ แต่ความเป็นจริง freelance ส่วนใหญ่ที่ไม่ได้รับเหมาช่วงงานระบบ enterprise น่าจะได้รับผลกระทบงานหดหายไปไม่มากก็น้อยเพราะคนจ้างไม่มีกำลังจะจ้าง

แล้วถ้าFreelance ที่จ่ายสมทบ ประกันสังคม เฉพาะของตัวเอง(ไม่มีนายจ้างสมทบเพราะเป็นFreelance จำไม่ได้ว่าเป็นประกันสังคมมาตราไหน)
แบบนี้ยังได้รับการชดเชยรายได้จากประกันสังคมไหมครับ

ตอบแทนให้ตรงนี้ แบบนั้นเรียกมาตรา 40 ครับ คือจ่ายให้ตัวเอง (แบบที่บริษัทสมทบเรียก มาตรา 33 ครับ) สามารถสมัครเข้าโครงการ เราไม่ทิ้งกัน เพื่อรับ 5000 บาทได้ครับ แต่จะได้รับการพิจารณาหรือไม่ก็ต้องเข้าเกณฑ์นะครับ

เพิ่มเติมคือ
ตอนนั้น สปส ออกมาบอกแล้ว ว่าผู้มีสิทธิสมัคร 5,000 บาทเราไม่ทิ้งกันนี้ยังรวมถึง

  1. คนที่อยู่ในมาตรา 33 (คือพนักงานบริษัทที่บริษัทสมทบให้) ไม่ถึง 6 เดือน
  2. คนที่อยู่ในมาตรา 39 (คือคนที่เคยอยู่ใน 33 แล้วเกษียณ, ลาออก แต่ต้องการคงสถานะ ปกสค จึงส่งเอง)
  3. คนที่อยู่ในมาตรา 40 (คือคนที่ไม่มีนายจ้าง เช่น พ่อค้าแม่ค้า มอเตอร์ไซค์รับจ้าง ฟรีแลนซ์ จนไปถึงแรงงานนอกระบบ ที่ต้องการส่ง ปกสค ด้วยตัวเอง)

ที่มา : สปส.ให้ผู้ประกันตนมาตรา 39-40 ที่ได้ผลกระทบโควิด ยื่นขอรับสิทธิมาตรการเยียวยา

wichate Wed, 04/08/2020 - 11:40

แหม ขนาดช่างตัดผมยังไม่ได้เลยนี่นา เรื่อง programer นี่ดูเป็นเรื่องขี้ผงไปเลย

เดาว่า มันไม่ได้กระทบระดับที่ ทำงานไม่ได้เลย แน่นอนว่าโปรแกรมเมอร์ก็ได้รับผลกระทบ แต่มันมักจะเป็นผลกระทบระดับสอง (คือไม่ได้โดนตรง ๆ แต่โดนจากลูกค้าที่โดนไปก่อนหน้าอีกที)

ซึ่งเหมือนเค้าอยากจะจ่ายพวกที่โดนตรง ๆ ก่อนมากกว่าน่ะครับ

ผมนั่งอ่านพวกนักดนตรีคุยกัน สรุปคร่าว ๆ ได้คือ ฝั่งนักดนตรีตอนนี้รายได้มาจากการเล่นดนตรีสด แทบจะ 100% พวกการทำเพลงหรือการไลฟ์นี่หวังผลด้าน PR มากกว่า

การทำ Livestreaming ถ้าไม่ใช่เจ้าใหญ่มาก ๆ ก็อยู่ยาก แถมถ้าใช้เพลงที่เจ้าของลิขสิทธิ์ดุมาก ๆ จะโดนยึดรายได้ทั้งหมดหรือถูกลบวิดีโอได้ (แถมถ้าติดธงสองสามครั้ง ช่องก็ปลิวอีก)

จะไปทำงานบันทึกเสียง ก็ต้องทำอยู่กับบ้าน ทำแล้วรายได้ไม่ได้เยอะขนาดอยู่ได้ แถมปริมาณงานก็ไม่ได้สูงขนาดนั้นครับ

คือ ... เอาง่าย ๆ ว่า ทำงานแล้วขาดทุนน่ะครับช่วงนี้

แต่เอาจริงๆ สิ่งที่ทุกคนโดนเหมือนกัน ไม่ว่าจะกิจการน้อยใหญ่คือ

"ขอเลื่อนการจ่ายเงิน"

ออกหนังสือ ขอไม่จ่ายเอาดื้อๆ เลยครับ ไม่เว้นแม้แต่ห้าง ใหญ่ๆ ที่กินค่าเช่า (ไม่รู้ลดค่าเช่าให้คนเช่าด้วยหรือเปล่านะ)
อย่างงี้เรียกได้รับผลกระทบไหม

มีใครไม่ได้รับผลกระทบบ้างหรอกับเหตุการ์ณไวรัสนี้ระบาด บางอาชีพไม่ได้โดนผลกระทบตรงๆ แต่บางอาชีพนั้นโดนเต็มตัว อาทิคำสั่งปิดสถานที่ เป้าหมายเขาเหมือนเข้ามาช่วยผู้ได้รับผลกระทบตรงๆ ..... แต่ถึงอย่างนั้นบางอาชีพอย่างวินมอไซ ยังได้เงินช่วยเหลือทั้งๆที่อาชีพมีความหยืนหยุ่นสูงมาก บางคนขับวินไปด้วยวิ่งแก๊ปไปด้วยยังมี บางคนนี่หิ้วกระเป๋าหลายจ้าวเลย

ส่วน โปรแกรมเมอร์ ถ้าเป็นฟรีแลนซ์ก็จัดเป็นอาชีพอิสระหรือเปล่าครับ

ถ้าเอาตรงๆ ไม่ Bias คนทำงานสาย IT ไม่ได้รับผลกระทบตรงๆ จาก Covid นะครับ ที่กระทบตรงๆนู่น ท่องเที่ยว ร้านอาหาร ฯลฯ
งานส่วนใหญ่ก็ W@H กันได้ 99% อยู่แล้ว (ไม่ต้องเอาเคสส่วนน้อยที่ติดเรื่อง security มากันหรอก) เมื่อก่อนก็ W@H กันได้เยอะแยะอยู่แล้ว Freelancer รับเขียนโปรแกรม รับทำงานเวป ก็ทำที่บ้านกันอยู่แล้ว
เรื่องงานที่มีมาน้อยลงมันก็ใช่ครับ แต่ไม่ใช่ว่าทำงานไม่ได้เลย คนที่ไม่ได้รับผลกระทบแล้วยังนั่งปั่น code กันอยู่ตอนนี้ก็ยังมีอยู่เยอะแยะ

เพราะฉะนั้นมันเป็นปกตินะครับ ที่จะได้รับการเยียวยาสำหรับงานสายนี้เป็นอันดับรองลงไปจากภาคส่วนที่เขากระทบโดยตรงกันจริงๆ

ต้องแยกให้ออกนะครับระหว่าง WFH กับการจ้างงาน โปรแกรมเมอร์ WFH ได้ครับแต่ไม่มีใครจ้างจะ WFH ให้ใครครับ? บริษัทหยุดทุกอย่างหยุดใครจะมาจ่ายให้โปรแกรมเมอร์ครับ? พี่ชายผมทำฟรีแลนซ์สิ่งที่เขาจะเจอเป็นอย่างแรกเลยคือลูกค้าเริ่มผิดนัดชำระ เพราะออฟฟิศปิด การจ่ายเงินก็ดีเลย์ซึ่งปัญหานี้รอได้ครับ แต่ถ้าลูกค้าหยุดให้งานใหม่ไปเลย ซึ่งก็จำนวนมากด้วยโปรแกรมเมอร์ก็ย่อมขาดแคลนรายได้ครับ มันไม่น่ามาเป็นเหตุผลว่าทำงานได้ยืหยุ่นแล้วจะไม่ช่วยอะครับ จะจ่ายช้าต้องดูรายละเอียดเยอะมันก็เป็นไปได้นะครับ แต่ปฏิเสธว่าคนกลุ่มนี้ไม่ควรได้เลยเนี่ย ผมก็สงสารคนที่ทำงานแล้วก็ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายแต่เวลาเดือดร้อนกลับปฏิเสธกันแบบไร้เยื่่อใยแบบนี้

ใช่ครับยังมีงานทำยัง WFH ได้ แต่งานที่ทำตอนนี้ หลายคนก็ไม่แน่ใจว่าทำแล้วจะได้รับเงินตามสัญญาที่ระบุไว้หรือเปล่านะครับ ก็คงไม่เถียงครับว่างานที่เกี่ยวกับคอมพ์จริงๆ มันยังมีความยืดหยุ่นอยู่บ้าง แต่ปัญหาหลักๆ ตอนนี้มันคงอยู่ที่การประเมิน ความชัดเจน วิธีคิดรวมถึงเงื่อนไขที่มักจะมีช่องโหว่ของรัฐบาลชุดนี้มากกว่า

รออีกสามเดือนแล้วมาทบทวน ความคิด ถ้าสถาณการดีขึ้นก็รอดไป

พวกมีสังกัด อาจจะกระทบน้อยกว่า พวกมือผืนรับจ้าง
หลายๆที่อยู่ได้เพราะ MA

เพราะรัฐคิดง่ายๆแค่นี้ไงครับมันถึงได้มีปัญหา คิดแค่ว่าอาชีพที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์ จะทำที่ไหนก็ได้ที่มีคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้ใส่ใจภาพใหญ่ของเศรษฐกิจเลย

ทุกอาชีพต้องกินข้าวหมดครับ

แค่รัฐไม่อยากจ่ายเงินก็เท่านั้น

แล้วจ่ายเพิ่ม 6 เดือน แทนที่จะเพิ่มจำนวนคนแทน

ไม่รู้เอาหังไหนคิด

รู้สึกดีที่ถอนกองทุนออกทัน ถึงอย่างนั้นก็เครียดจนถ่ายเป็นเลือดอยู่ดี ไม่ใช่เพราะงาน แต่เป็นเพราะคนในบ้านเครียดจนเป็นบ้าไปแล้ว (ยังดีที่ไม่ต้องล่ามโซ่ไว้) ต้องเป็นที่รองรับอารมณ์กันไป

ความไม่ยุติธรรมคือ ทุกคนจ่ายภาษีจากเงินได้, เสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากการซื้อของ, เสียภาษีหัก ณ ที่จ่าย จากการใช้บริการ, เสียภาษีสรรพสามิต จาก สุรา ยาสูบ สารพัดภาษี ฯลฯ
แต่เวลาขอเยียวยา กลับไม่ได้เยียวยาแบบถ้วนหน้า

แหม่ อยากจะให้จ่ายทุกคน แต่รัฐไม่มีตังค์ จะให้เอาที่ไหนจ่าย จะให้เสกตังค์พิมพ์แบงค์เพิ่มไม่ต้องค้ำ เอาไหม? ผมเข้าใจนะว่าควรจะจ่ายคนที่เดือดร้อนจริงๆก่อน ขั้นตอนการคัดกรองก็แน่นอนว่าจะให้มาสัมภาษณ์ทุกคนเพื่อความถูกต้องสูงสุดคงเป็นไปไม่ได้ ก็อาศัยข้อมูลที่กรอกเข้าไป ใครหน้าด้านไม่เดือดร้อนจริงแต่โกหกสมควรมีโทษด้วยซ้ำ ส่วนพวกที่หนี้เยอะก็ควรต้องไปถามเจ้าหนี้มากกว่ามั้ย

แล้วนี่เพิ่งจะเริ่มต้นเอง ผมว่าดีไม่ดีกว่าจะจบได้ลากยาวยันปีหน้า แต่เหมือนคนจะเครียดจนจะเป็นบ้ากันไปหมดแล้ว

panther Wed, 04/08/2020 - 13:41

คือ ต้องดูด้วยว่าคำว่าทำงานมันมีนิยามแบบไหน
โปรแกรมเมอร์ ทำงานที่ไหนก็ได้หน่ะใช่
แต่งานที่มันทำแลกเงินมันกระทบเหมือนๆ กันแหละ เพราะไม่มีใครจ้าง
แต่อาจจะไม่โดนโดยตรงหรือทันทีแบบบางงาน
แต่ไม่กระทบเลยคงไม่ใช่

เพื่อนผมเปิด sw house เล็กๆ ช่วงนี้เคลีย์งานเก่าหมดแล้ว
แต่งานใหม่ยังไม่มีวี่แวว ออกไปคุยงานไม่ได้ ออกไปเก็บรีไควเม้นไม่ได้
แล้วลูกค้าที่เค้าได้รับผลกระทบเค้าก็ชลอการจ่ายค่างวดเหมือนกัน

ถ้าเป็นแบบนี้อีก 2-3 เดือนจะแย่เอา เงินต้องจ่ายแต่รายได้ไม่เข้า
แล้วถ้าต้องตัดเงิน หรืองดจ่ายเงินน้องๆพนักงาน
แล้วพวกนี้ไม่สิทธิรับเงินช่วยอีก? บางคนจะแย่เอา...

ผมนี่ตายสนิทตั้งแต่มีข่าวโควิทใหม่ ๆ แล้วครับ ยังไม่กระหน่ำเหมือนช่วงเดือนหลัง ๆ ด้วยซ้ำไป ลูกค้าเบรคงานทุกอย่างหมด รอดูผลกระทบ พอผลกระทบเริ่มออกมา ก็ยาวมาเรื่อย ๆ จนถึงตอนนี้เลย

เงินเก็บก็หมดล่ะ ค่าเช่า ค่าน้ำไฟ กินอยู่ทุกวันนี่ก็ต้องหยิบยืมจากเพื่อนที่ยังพอมีเงินเก็บ ก็ไม่รู้จะรอดได้นานแค่ไหน เพราะเพื่อนเอง ก็ต้องปิดร้าน ปิดไรเหมือนกัน

ผมว่าหลายคนยังสับสนอยู่นะ โปรแกรมเมอร์ในที่นี้ ไม่ได้หมายถึงโปรแกรมเมอร์ทุกคนนะครับ

เราไม่ทิ้งกัน 5,000 บาทนี้ เขาให้สำหรับคนที่อยู่นอกประกันสังคมมาตรา 33 เท่านั้น

ดังนั้น ใครที่เป็นโปรแกรมเมอร์ทำงานในบิษัท จะบริษัทเล็กหรือใหญ่ ถ้าบริษัทคุณส่งประกันสังคมให้คุณ จะลงทะเบียนยังไงก็ไม่ได้รับการพิจารณาอยู่แล้วนะคุณไม่เข้าข่ายจะบ่นในเรื่องนี้เลย หากคุณได้รับผลกระทบให้คุณไปติดต่อประกันสังคมเลยครับ ถ้าบริษัทปิดไม่ให้ทำงานและไม่จ่ายค่าจ้าง ประกันสังคมให้เงินเยียวยา 50% หรือไม่เกิน 7,500 บาท 180 วันครับ ขอโทษทีนะครับ เยอะกว่า 5,000 บาท 6 เดือนนี่อีก

ใช่...มันเป็นเงินที่คุณส่งเองคุณไม่ได้รับฟรีๆเหมือนเงิน 5,000 นี้นี่นา ทำไมคุณไม่ได้บ้างล่ะในเมื่อมันเป็นเงินภาษีของคุณ

แต่มันก็เป็นแบบนี้ไม่ใช่หรือครับ ในฐานะรัฐ รัฐก็ต้องเยียวยาคนที่ไม่มีอะไรซัพพอร์ท เรามีของเราซัพพอร์ทเราก็แบ่งๆให้คนที่เขาไม่มีอะไรรองรับจริงๆ ให้เขาได้บ้าง ตอนนี้เดือดร้อนกันทุกคน แบ่งๆกันไปนะครับ
ประกันสังคมเยียวยาอย่างไรในวิกฤตโควิด-19

ส่วน โปรแกรมเมอร์ ฟรีแลนซ์ อันนี้น่าเห็นใจครับ อยากให้แก้ไขในช่องอาขีพที่ลงทะเบียน ว่ารับจ้างอิสระมากกว่า แล้วอธิบายไป ว่ารับจ้างเขียนโปรแกรมเป็นงานๆ ไม่มีงานประจำ

วานท่านผู้เขียนข่าว เพิ่มคำในหัวข้อข่าวเป็น โปรแกรมเมอร์"อิสระ" ด้วยครับ เพราะเขียนแค่ โปรแกรมเมอร์ มันทำให้กำกวม

เรื่องโปรแกรมเมอร์ได้รับผลกระทบมั้ย ผมก็คิดเหมือนกับข้างบนได้คุยกันไปแล้วคือทุกอาชีพได้รับผลกระทบหมด เพียงแต่มันก็ยังไม่ใช่ทุกคน(ในทุกๆอาชีพ)ที่ได้รับผลกระทบ(ในตอนนี้) ที่แน่ๆ ทุกบริษัทล้วนแต่ชะลอการเบิกจ่ายงบออกไป โปรเจคไอทีใหญ่ๆที่กำลังจะขึ้นในปีนี้ เผลอๆมีเลื่อนออกไปเป็น 2-3 ปี แค่คิดก็หนาวแล้วตู (เง้อ)

ส่วนกระบวนการคัดเลือกกลุ่มคนที่ได้รับผมกระทบ เอาจริงๆมันก็ไม่ง่าย เพราะงบมีจำกัดแต่คนเดือดร้อนมีเยอะมาก แถมไม่รู้ว่าต้องหน้าคิดหลังถึงเบื้องหลังด้วยรึเปล่า

ที่อยากได้คืออยากให้คัดกรองคนที่ให้ข้อมูลเท็จหรือเดือดร้อนยังไม่เยอะออกไปก่อน สงสารคนที่เดือดร้อนจริงๆ

ใส่อาชีพอื่นๆเป็นจะได้ไหม หล่ะ

นักพัฒนาระบบ , system developer , system engineer , dev-op , นักปฏิบัตรการคอมพิวเตอร์ , นักทดสอบระบบ , ดีบักเก้อ

มันจะโดนไหมนะ AI เขาใส่ออะไรไว้มั่ง

เท่าที่ดูที่ปรึกษาที่วางแผนภาพรวม น่าจะเก่งเรื่องบริหาร Resource ในสภาวะการณ์จำกัดด้วย ซึ่งมักพบเจอในกลุ่มคนที่จบการเงินหรือแพทย์ หลักการแรกของคนกลุ่มนี้ คือ จัดลำดับตามความสำคัญเป็นหลัก ดังนั้นคิดว่าน่าจะโดนกันอีกหลายกลุ่มไม่ใช่แค่นี้หรอก แต่ก็อย่างว่าแหล่ะครับ มันมีปัญหาหมกหมม กันมานานพอสมควรเรื่องการนำงบกลางไปใช้ในเรื่องอื่น โดยไม่คาดคิดว่าจะเกิดสถานะการณ์ฉุกเฉินอย่างนี้ขึ้นมา มันเลยทำให้คนวางแผนงานช่วงนี้ก็ต้องทำงานตามสภาพทางการเงินที่ยังเหลืออยู่นี่แหล่ะครับ

ผมคิดว่าใครรับเหมางานภาครัฐ เอกชน ระยะถัดไปจากโควิท นี่น่าจะบาดเจ็บล้มตายกันอีกเยอะ โดยเฉพาะเอกชนที่กู้เงินมาลงทุน ส่วนภาครัฐก็โดนตัดงบไปกระทรวงละ 20% งานแรกๆ ที่จะโดนก็น่างานด้าน IT นี่แหล่ะ หรือไม่งั้นงานก็โดนเลื่อนไปไม่มีกำหนด ใครสายป่านยาวก็รอด ใครสายป่านสั้นผมว่าเตรียมรับแรงกระแทกต่อเนื่องไว้บ้างก็ดี

ส่วนตัวผมยังเชื่อในบุคลากรทางการแพทย์ และคนวางแผนเรื่องสาธารณสุข เพราะสามารถจัดการในสภาการณ์ในสภาวะแบบนี้ได้ดี โดยเฉพาะเมื่อเปลี่ยนหัวด้านสาธารณสุขมาใช้บริการหมอมืออาชีพ ศึกนี้ดูท่าจะยืดเยื้อ ด้วยปัจจัยหลายๆ อย่าง เป็นสาเหตุนึงที่ผมว่าเขาถึงได้ขยายการจ่ายเงินไป 6 เดือน คนเบื้องหลังน่าจะประเมินแล้วว่ายาว

เขาจะรู้ไหมครับนี่ ว่าในช่วงนี้ลูกค้าเลือกที่จะพัก หรือชะลอโครงการออกไปก่อนกันไม่น้อยเลย, จริงๆ มันจะดีกว่ามากถ้าเปลี่ยนไปใช้การอธิบายว่า กลุ่มไหนได้รับการพิจารณาให้ได้รับการช่วยเหลือก่อน-หลัง

ถ้ารัฐจริงใจ ต้องดึงเงินงบประมาณตามกระทรวงต่างๆออกมาใช้
เป็นหน้าที่ของรัฐที่ต้องบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชนทุกคน
คนที่อยู่นอกระบบประกันสังคมควรได้รับเงิน 5000 ทุกคน
ไม่ใช่แบ่งแยกประชาชน ใช้ความรู้สึกตัดสินว่าใครควรได้รับเงินหรือไม่ควรได้รับเงิน
ทุกคนจ่ายภาษีให้รัฐเหมือนๆกัน

ถ้าเอาแบบง่ายสุดว่ากระทบตรงแค่ไหน

ผมขายออนไซต์ซัพพอร์ตไม่ได้ครับ

เอาจริงๆกระทบไหม
ผมว่าถ้านับลำดับชั้นความกระทบ เราอยู่ข้างล่างกว่าหลายอาชีพจริงๆ
เพียงแต่เงื่อนไขที่ผ่านตอนนี้มันแค่รู้สึกแบบ

อื้มม

  • แท๊กซี่ที่จำนวนไม่น้อยปฏิเสธผู้โดยสาร
  • วินที่รายได้บางวินอาจจะสูงถึงเดือนละเป็นแสน เยอะกว่าโปรแกรมเมอร์เงินเดือนอีก

ผมไม่ได้รู้สึกมากอะไรกับการได้ไม่ได้ เพราะก็ยังรู้สึกว่าตัวเองอยู่ในฐานะพอประคองได้อยู่ แต่ก็รู้สึกว่า การไม่ให้เราแล้วเอาไปให้คนที่ส่วนใหญ่เผลอๆไม่ได้ลำบากกว่าด้วยซ้ำ แถมแทนที่จะกระจายให้ทั่วถึง กลับเลือกเพิ่มเป็นหกเดือนอีก มันรู้สึกแย่แค่นั้นแหล่ะ

เฟส1 ผ่าน จะเข้า เฟส2 เลื่อนยาวไม่มีกำหนด ไม่ได้หางานเผื่อด้วย เดี้ยงสิครับรอไรละ จะกินอะไรละ
คนไม่เดือนร้อนไม่รู้หรอก

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
DeepMind
public://topics-images/deepmind.png
Databricks
public://topics-images/databricks.png
Netflix
public://topics-images/netflix-logo.png
Microsoft Azure
public://topics-images/azure.png
Microsoft Copilot
public://topics-images/microsoft_copilot_icon.svg_.png
Bing
public://topics-images/bing.png
EA
public://topics-images/ea.png
Intel
public://topics-images/intel.png
Amazon
public://topics-images/amazon.png
AWS
public://topics-images/aws.png
Zoom
public://topics-images/zoom.png
Dropbox
public://topics-images/dropbox_0.png
Roblox
public://topics-images/roblox.png
Dell Technologies
public://topics-images/dell-tech.png
Nothing
public://topics-images/nothing.svg_.png
Microsoft Teams
public://topics-images/teams.png
Mojang
public://topics-images/mojang.png
Minecraft
public://topics-images/minecraft.png
Redis
public://topics-images/redis_logo.svg_.png
Ubisoft
public://topics-images/ubisoft_logo.svg_.png
Elden Ring
public://topics-images/elden.png
Brave
public://topics-images/brave.png
Opera
public://topics-images/opera.png
Vivaldi
public://topics-images/vivaldi.png
Microsoft Edge
public://topics-images/edge.png
Duolingo
public://topics-images/duolingo.png
LinkedIn
public://topics-images/linkedin.png
Canva
public://topics-images/canva.png
Realme
public://topics-images/realme.png
NASA
public://topics-images/nasa-logo.png
Booking.com
public://topics-images/booking.png
Agoda
public://topics-images/agoda.png
Bolt
public://topics-images/bolt.png
Grab
public://topics-images/grab.png
Temu
public://topics-images/temnu.png
LINE
public://topics-images/line.png
Facebook Messenger
public://topics-images/messenger.png
WhatsApp
public://topics-images/whatsapp.png
Telegram
public://topics-images/telegram.png
Signal
public://topics-images/signal.png
X.com
public://topics-images/x.png
Grok
public://topics-images/grok.png
xAI
public://topics-images/xai.png
CapCut
public://topics-images/capcut.png
Edits
public://topics-images/edit.png
Google One
public://topics-images/gone.png
Tinder
public://topics-images/tinger.png
Whoscall
public://topics-images/whoscall.png
OneDrive
public://topics-images/onedrive.png
Lightroom
public://topics-images/lr.png
Meitu
public://topics-images/meitu.png
Outlook
public://topics-images/outlook.png
Excel
public://topics-images/excel.png
PowerPoint
public://topics-images/ppt.png
Microsoft Word
public://topics-images/word.png
Phone Link
public://topics-images/phone-link.png
OneNote
public://topics-images/onenote.png
Windows App
public://topics-images/windows-app.png
Notion
public://topics-images/notion.png
Google Drive
public://topics-images/drive.png
YouTube Kids
public://topics-images/yt-kids.png
Gboard
public://topics-images/gboard.png
DeepSeek
public://topics-images/deepseek_logo.svg_.png
Prince of Persia
public://topics-images/prince-persia.png
Sony
public://topics-images/nq0nd2c0_400x400.jpg
Tencent
public://topics-images/z4xi4oyc_400x400.jpg
Cisco
public://topics-images/jmyca1yn_400x400.jpg
Alibaba
public://topics-images/4axflwia_400x400.jpg
Alibaba Cloud
public://topics-images/qm43orjx_400x400_cloud.png
Coinbase
public://topics-images/consumer_wordmark.png
CarPlay
public://topics-images/carplay.png
Rust
public://topics-images/rust-logo-blk.png
Red Hat
public://topics-images/redhat.png
Anthropic
public://topics-images/anthropic.png
Xcode
public://topics-images/xcode.png
Tim Cook
public://topics-images/tim-cook.jpg
Donald Trump
public://topics-images/trump.jpg
Microsoft Surface
public://topics-images/surface.jpg
Copilot+ PC
public://topics-images/copilotpc.png
Stellar Blade
public://topics-images/stellar-blade.jpg
Snapdragon
public://topics-images/snapdragon_chip.png
Qualcomm
public://topics-images/qualcomm-logo.svg_.png
CoreWeave
public://topics-images/coreweave.png
Ford
public://topics-images/ford.png
Xiaomi
public://topics-images/xiaomi.png
Google Cloud
public://topics-images/google_cloud_logo.svg_.png
PlayStation Network
public://topics-images/psn.png
PlayStation Plus
public://topics-images/ps-plus.png
Windsurf
public://topics-images/windsurf.png
Square Enix
public://topics-images/square-enix.png
MIT
public://topics-images/x7hyjl3t_400x400.jpg
Zoox
public://topics-images/zoox.jpg
Evernote
public://topics-images/1neatidg_400x400.jpg
Magic the Gathering
public://topics-images/magic.png
Call of Duty
public://topics-images/cod.png
NVIDIA
public://topics-images/nvidia_logo.svg_.png
Satya Nadella
public://topics-images/nadella.png
Nintendo
public://topics-images/nintendo.png
Japan
public://topics-images/japan_flag.png
China
public://topics-images/china-flag-sq.png
Sam Altman
public://topics-images/sam-altman.png
SNK
public://topics-images/snk_logo.svg_.png
EPYC
public://topics-images/epyc.png
HPE
public://topics-images/hpe.png
Juniper
public://topics-images/juniper.png
CMA
public://topics-images/cma.png
App Store
public://topics-images/app-store.png
DoJ
public://topics-images/doj.png
Siri
public://topics-images/siri.png
Apple Intelligence
public://topics-images/apple-intelligence.png
Acer
public://topics-images/acer.png
GeForce
public://topics-images/geforce.png
Omen
public://topics-images/omen.png
HP
public://topics-images/hp.png
Alienware
public://topics-images/alienware.png
Dell
public://topics-images/dell.png
Bungie
public://topics-images/bungie.png
Marathon
public://topics-images/marathon.png
Lenovo
public://topics-images/lenovo-2015-svg.png
Intel Arc
public://topics-images/badge-arc-graphics.png
GitHub
public://topics-images/8zfrryja_400x400.png