Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
Tinder
public://topics-images/hwizi8ny_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
NVIDIA
public://topics-images/srvczsfq_400x400.jpg
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png
Singapore
public://topics-images/flag_of_singapore.svg_.png
Airbnb
public://topics-images/airbnb.png
PS5
public://topics-images/ps5.png
Krafton
public://topics-images/krafton.png
Doom
public://topics-images/doom-game-s_logo.svg_.png
AMD
public://topics-images/amd_logo.svg_.png
GTA
public://topics-images/gta_0.png
DoorDash
public://topics-images/doordash.png
YouTube
public://topics-images/yt.png
YouTube Music
public://topics-images/yt-music.png
Facebook
public://topics-images/fb.png
iQiyi
public://topics-images/iqiyi_0.png
Viu
public://topics-images/viu.png
Amazon Prime Video
public://topics-images/prime-vid.png
Spotify
public://topics-images/spotify.jpg
Apple TV
public://topics-images/apple-tv.png
HBO Max
public://topics-images/max.png
Threads
public://topics-images/threads.png
Alexa
public://topics-images/alexa.png
Kindle App
public://topics-images/kindle.png
Shopee
public://topics-images/shopee.png
Waze
public://topics-images/waze.png
Bilibili
public://topics-images/bili.png
Google Maps
public://topics-images/maps.png
Apple Music
public://topics-images/apple-music.png
Claude
public://topics-images/claude.png
TikTok
public://topics-images/tiktok.png
Xbox
public://topics-images/xbox.png
Tesla
public://topics-images/tesla.png
Chrome
public://topics-images/chrome.png
Google Calendar
public://topics-images/gcal.png
Google Home
public://topics-images/ghome.png
Google Meet
public://topics-images/meet.png
NotebookLM
public://topics-images/notebooklm.png
Reddit
public://topics-images/reddit.png
Assassin’s Creed
public://topics-images/ac.png
Mark Zuckerberg
public://topics-images/zuck.jpg
Meta
public://topics-images/meta.png
Meta AI
public://topics-images/meta-ai.png
Epic Games
public://topics-images/epic_games_logo.svg_.png
Unreal
public://topics-images/unreal_engine_logo-new_typeface-svg.png
Fortnite
public://topics-images/fortnite.png
อันนี้คือตัวอย่างของของระบบ
aomnaruk Mon, 06/20/2022 - 15:52
อันนี้คือตัวอย่างของของระบบ Proof Of Stake ที่ยิ่งรวยยิ่งมีอำนา่จเยอะปัญหานี้ไม่ใช่เรื่องใหม่
.
.
.
.
.
.
.
ระบบ Fiat การเงินดั้งเดิมก็ประมาณแบบนี้เนี่ยแหละ
หลังจากโลกผ่านกระบวนการเรียนร
lew Mon, 06/20/2022 - 16:05
In reply to อันนี้คือตัวอย่างของของระบบ by aomnaruk
หลังจากโลกผ่านกระบวนการเรียนรู้ว่าไม่ควรปล่อยเอกชนออกตั๋วเงินกันเองโดยไม่มีกฎเกณฑ์ควบคุมมาเป็นร้อยปี
เราก็กลับไปเรียนใหม่อีกรอบ ภายใต้ความรู้สึกว่ามันคือนวัตกรรม
เอาจริงๆสภาพตอนนี้
Kazu Mon, 06/20/2022 - 17:43
In reply to หลังจากโลกผ่านกระบวนการเรียนร by lew
เอาจริงๆสภาพตอนนี้ ตั๋วเงินเอกชนสมัยก่อนกับของรัฐก็ไม่ได้อยู่ในสภาพต่างกันรึปล่าวครับ
เราทำได้แค่ยืนมองรัฐrug pullตาปริปๆ โดยที่ทำอะไรไม่ได้เหมือนกัน
พันกว่าปีที่แล้ว ก็มีบทเรียนเรื่องปริ้นเงินแล้วเละเทะ ผ่านมาพันกว่าปี ก็ยังวนกลับมาที่เดิม แล้วบอกว่าเราทำเพื่อทุกคน
เราไม่ได้ปริ้นท์ตังเราทำ QE
aomnaruk Mon, 06/20/2022 - 19:30
In reply to เอาจริงๆสภาพตอนนี้ by Kazu
เราไม่ได้ปริ้นท์ตังเราทำ QE เฉยๆ ถถถถถถ.
ซึ่งปรากฎว่ากระบวนการพิมพ์เงิ
lew Mon, 06/20/2022 - 23:18
In reply to เราไม่ได้ปริ้นท์ตังเราทำ QE by aomnaruk
ซึ่งปรากฎว่ากระบวนการพิมพ์เงิน นี่มันทำให้เงินที่เราใช้ๆ ทุกวันนี้มูลค่ามันนิ่งมาก
ภาวะที่เงินจะฝืดก็พิมพ์เงินอัดระบบ ภาวะที่เงินเฟ้อ (เขาพิมพ์เงินเป็นสิบปีเงินไม่ค่อยเฟ้อ) ก็เริ่มสูบเงินกลับ และคนเจ็บหนักกลายเป็นกลุ่มคริปโตอยู่ดี
ธนาคารกลางที่คุณขำการกระทำของเขารักษาค่าเงินโดยแทบไม่เคยกระทบค่าเงินเกิน 10% เลย เงินเฟ้อสหรัฐฯ 8.x% นี่สูบเงินกลับรัวๆ แล้ว ไม่นับว่ามันมีเหตุภายนอกอย่างสงครามเขาก็ต้องรับผิดชอบดูแลค่าเงินให้มันนิ่ง
โลกคริปโตดูแคลนงานของธนาคารกลาง แต่พอใช้จะถือยาวจริงๆ ก็แห่กันไปขออิงค่าเงินของธนาคารกลาง
เรื่องคริปโตก็เรื่องนึงครับแต
aomnaruk Tue, 06/21/2022 - 00:23
In reply to ซึ่งปรากฎว่ากระบวนการพิมพ์เงิ by lew
เรื่องคริปโตก็เรื่องนึงครับแต่ตัวเลขเงินเฟ้อมันมีการเล่นแร่แปรธาตุเปลี่ยนสูตรในการคำณวนจนเอาไปเทียบย้อนหลังแทบจะไม่มีความสอดคล้องกันแล้วคือถ้าเอาสูตรเดียวกันเมื่อ 40 ปีที่แล้วมาใช้เราน่าจะอยู่ในสภาวะ hyperinflation ไปแล้วแต่โอเครคุณอาจจะเถียงผมได้ว่าสูตรเมื่อ 40 ปีก่อนมันไม่ make sense แล้วที่จะใช้ต่อแต่คุณจะมั่นใจได้อย่างไรว่าการปรับสูตรไม่ได้มีเจตนาเพื่อทำให้ตัวเลขเงินเฟ้อมันต่ำกว่าความเป้นจริง ? เอาเป็นว่าตั้งข้อสังเกตเรื่องนี้ละกันว่าตัวเลขจริงอาจจะมากกว่านี้
ส่วนที่คุณบอกว่าสูบเงินกลับรัวๆผมมองว่ามันไม่ได้เยอะอย่างที่คุณคิดนะถ้าไม่เชื่อลองไปดูกราฟ M1, M2, M3 ได้ว่ามีการพิมพ์ออกมาเท่าไหร่สูบออกไปเท่าไหร่สัดส่วนมา่กน้อยแค่ใหนครับ
ส่วนเรื่องระบบธนาคารกลางผมมองว่ามัน work นะไม่งั้นโลกคงไม่มาใช้ระบบนี้กันหรอกแต่ตอนนี้ผมว่าธนาคารกลางกำลังมีอำนาจมากเกินไปโดยเฉพาะอำนาจการควบคุม supply คนเลยเริ่มคิดระบบที่จะหนีออกมาจากธนาคารกลางออกมาซี่งก็ยังไม่รู้ว่าจะประสบความสำเร็จหรือเปล่าหรือจะเจ้งหมดมูลค่าเหมือนกับบางโปรเจคเช่น luna/terra หรือจะยืนอยู่ได้จนได้รับการยอมรับจริงๆอันนี้ผมก็ไม่รู้เหมือนกัน
----- Edited -----
ลืมตอบไปข้อนึง "เงินที่เราใช้ๆ ทุกวันนี้มูลค่ามันนิ่งมาก" นิ่งในความหมายใหนครับทำไมผมไม่เห็นอาหารตามสั่งจานละ 20 บาทแล้วอะครับ
ปัญหาคือสิ่งที่คุณไม่ชอบทั้งห
YongZ Tue, 06/21/2022 - 01:29
In reply to เรื่องคริปโตก็เรื่องนึงครับแต by aomnaruk
สิ่งที่คุณไม่ชอบทั้งหมดในระบบธนาคารเดิม การเล่นแร่แปรธาตุ การมีอำนาจมากเกินไป ฯลฯ มันมีอยู่ในระบบไร้ศูนย์กลางทิพย์ทั้งนั้นเลย..
แถมสิ่งที่มีเพิ่มมาในศูนย์กลา
pepporony Tue, 06/21/2022 - 06:17
In reply to ปัญหาคือสิ่งที่คุณไม่ชอบทั้งห by YongZ
แถมสิ่งที่มีเพิ่มมาในไร้ศูนย์กลางทิพย์คือ….Crypto Bros 55555
ลืมตอบไปข้อนึง
criminals Tue, 06/21/2022 - 07:00
In reply to เรื่องคริปโตก็เรื่องนึงครับแต by aomnaruk
ตามความคิดผม มูลค่าสินค้า กับ มูลค่าตัวเงิน มันน่าจะเป็นคนละเรื่องกันนะครับ
เสริมแบบสั้นๆ ครับ "เงิน !=
mk Tue, 06/21/2022 - 08:48
In reply to ลืมตอบไปข้อนึง by criminals
เสริมแบบสั้นๆ ครับ "เงิน != เงินตรา"
และการที่เงินเฟ้อได้ เป็นฟีเจอร์สำคัญอย่างหนึ่งของเงินในระบบเศรษฐกิจครับ
คุณเชือในระบบเศรษฐศาสตร์ของค่
aomnaruk Tue, 06/21/2022 - 11:57
In reply to เสริมแบบสั้นๆ ครับ "เงิน != by mk
คุณเชือในระบบเศรษฐศาสตร์ของค่าย keynesian ครับเลยคิดแบบนี้
นัยเดียวกัน ถ้าคุณโหยหาข้าว
zerost Tue, 06/21/2022 - 11:12
In reply to ลืมตอบไปข้อนึง by criminals
นัยเดียวกัน ถ้าคุณโหยหาข้าว 20 บาทในอดีต ถ้าเทียบกับคริปโตนี่โคตรนิ่งเลยนะครับ สมมติว่าถ้าเราใช้ btc เป็นสื่อกลางแลกเปลี่ยนสินค้ากันตั้งแต่ซาโตชิทำเหรียญมาใหม่ๆ ข้าวที่ใช้คริปโตซื้อตอนนั้นกับตอนนี้เรียกว่าจากราคาข้าวกลายเป็นบ้านเป็นรถไปแล้ว
นึกถึงเมื่อปี 2010 ที่ 1 BTC
nessuchan Tue, 06/21/2022 - 12:51
In reply to นัยเดียวกัน ถ้าคุณโหยหาข้าว by zerost
นึกถึงเมื่อปี 2010 ที่ 1 BTC แลกพิซซ่าได้ 2 ถาด ตอนนี้ได้ City คันนึง แต่ก่อนนี้ได้บ้านหลังนึง อนาคตยังไม่รู้ว่าจะกลับไปแลกได้แค่พิซว่า หรือจะซื้อเมืองทั้งเมืองได้
สูบออกไปมากพอหรือไม่นี่สุดท้า
lew Tue, 06/21/2022 - 09:51
In reply to เรื่องคริปโตก็เรื่องนึงครับแต by aomnaruk
สูบออกไปมากพอหรือไม่นี่สุดท้ายเขาดูที่เงินเฟ้อนี่ครับ ถ้าเงินเฟ้อยังไม่หยุดเดี๋ยวเขาก็สูบออกอีก เขาไม่ได้มานั่งนับว่าเคยใส่เข้ามาเท่าไหร่
นิ่งมาก แปลว่าเขาจงใจให้มันเฟ้อเล็กน้อย เฟ้อช้าๆ ครับ
ถ้าอาหารตามสั่งจานละ 20 บาท ใช้เวลา 20 ปีขึ้นมาเป็น 40บาท นี่ปีละ 3.5% เงินเฟ้อจริงๆ ต้องคิดรวมๆ อย่างมาม่าแทบไม่ขึ้นเลย ถ้าวัดจากมาม่าอาจจะใกล้ศูนย์ ก็ต้องถัวๆ ไป
คนถือคริปโตถ้าใช้ BTC (ที่มีปริมาณเงินใหม่ออกอย่างตายตัว ไม่ได้ใส่เข้าได้อิสระเหมือนธนาคารกลาง) ไปซื้อข้าวแกงนี่ปีนี้แพงขึ้นตาม BTC 2-3 เท่าตัวในปีเดียว
วิธีการหยุดเงินเฟ้อตามตำราเลย
aomnaruk Tue, 06/21/2022 - 12:21
In reply to สูบออกไปมากพอหรือไม่นี่สุดท้า by lew
วิธีการหยุดเงินเฟ้อตามตำราเลยคือต้องขึ้นดอกเบี้ยนโยบายให้มากกว่าอัตราเงินเฟ้อครับปี 1980 โลกเจอดอกเบี้ยมหาโหด 20% กันมาแล้วแต่ด้วยสถานะการณ์หนี้ท่วมโลกแบบนี้ทำให้การขึ้นดอกเบื้ยไม่ง่ายก็เลยมีของเล่นใหม่ที่ชื่อว่า QT ผมก็อยากรู้เหมือนกันว่า work แค่ใหนครับ
ถ้าคุณเชื่อว่าเงินเฟ้ออ่อนๆตลอดเวลาเป็นเรื่องดีอันนี้แปลว่าเราเชื่อทฤษฎีเศรษฐศาสตร์คนละสำนักกันครับเถียงกันไม่จบแน่นอน
คุณเล่น convert เงินอีกประเภทนึงมาเทียบกับเงิน fiat มันก็จะเป็นอย่างที่คุณว่านี่หละครับแต่ก็พอเข้าใจได้ว่า ณ ตอนนี้คนทั่วไปยังบันทึกธุรกรรมเป็นหน่วยของเงิน fiat อยู่
ผมคิดว่ากลุ่มที่ถือคลิบโตบางก
Neroroms Tue, 06/21/2022 - 06:49
In reply to ซึ่งปรากฎว่ากระบวนการพิมพ์เงิ by lew
ผมคิดว่ากลุ่มที่ถือคลิบโตบางกลุ่มไม่ได้เข้าใจเรื่องเศรษฐศาสตร์หรอกครับ
การพิมพ์เงินเข้าระบบที่พวกเขายกมาโจมตีเขาก็จะอ้างแค่ว่ารัฐพิมพ์เงินเองได้ไม่ผิด แต่พวกเขาสร้างเงินเองผิดเพราะรัฐต้องการเอาเปรียบ
การพิมพ์เงินเข้าระบบมันไม่ได้ทำได้ง่ายๆ ถ้าพิมพ์เงินเข้าระบบมากเกินไปจะส่งผลต่อเศรษฐกิจได้ เพราะเงินจะไร้ค้าไปในทันที อย่างเวเนซูเอล่าที่รัฐบาลเลือกที่จะยัดเงินเข้าระบบเยอะ ๆ แก้คนจนกลายเป็นว่าต้องหอบเงินสองกระสอบซื้อไก่ตัวเดียวนั่นแหละครับ
ระบบการเงินคือส่วนนึงของเศรษฐกิจซึ่งเป็นสิ่งที่มองเห็นง่ายมาก แต่จริง ๆ แล้วมันมีอะไรลึกกว่านั้นเยอะครับแต่คนกลุ่มนี้เขาไม่มองกันหรอก ขอแค่ทำเงินได้ก็พอ และการมีคนเอาเงินเข้ามาในระบบคลิปโตเยอะ ๆ มันก็มีโอกาสที่เขาจะได้เงินเยอะไงครับถ้าเขาคิดว่ามันกำไรที่จะขายทิ้ง
ผมเองไม่คิดจะลงคลิปโตเพราะผมไม่เห็นว่าเงินในระบบคลิปโตนั้นเอาไปสร้างผลิตภัณฑ์อะไรที่สร้างมูลค่าให้กับเงินที่มีอยู่เดิมอย่างเห็นได้ชัดเหมือนกับการลงทุนกับบริษัทที่มีผลิตภัณฑ์ครับ เท่าที่เห็นคือเหมือนของสะสมเอากำไรเท่านั้นแหละ อันนี้พูดให้ soft ลงแล้วนะครับ
ผมเข้าใจว่า
mr_tawan Mon, 06/20/2022 - 20:01
In reply to เอาจริงๆสภาพตอนนี้ by Kazu
ผมเข้าใจว่า ถ้าศึกษาประวัติศาสตร์ เรื่องราวพวกนี้มันเคยเกิดขึ้น และก็มีคนที่รู้และเข้าใจมันดี
แต่ก็จะมีคนที่ไม่เคยรู้ เพราะไม่เคยศึกษา พอมีคนออกมาบอกว่าเดี๋ยวมันจะเกิดขึ้นเพราะมันเคยเกิดขึ้นแล้ว ก็จะปฎิเสธไปว่า "เรามีเทคโนโลยีที่ดี ไม่เหมือนสมัยนั้นหรอก" ทั้ง ๆ ที่มันไม่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเลย
ถ้าเอกชนกับรัฐไม่ต่างกันแล้วฝ
YongZ Mon, 06/20/2022 - 21:55
In reply to เอาจริงๆสภาพตอนนี้ by Kazu
คิดว่าความเสี่ยงที่จะเกิดrugpullมันเท่ากันไหมครับเอกชนกับรัฐ
ชอบความเห็นคุณ lew มากๆ ครับ
Azymik Mon, 06/20/2022 - 18:31
In reply to หลังจากโลกผ่านกระบวนการเรียนร by lew
ชอบความเห็นคุณ lew มากๆ ครับ
decentralize มันเป็น
ninja741 Mon, 06/20/2022 - 21:00
decentralize มันเป็น innovation ทางภาษา ไม่ใช่เทคโนโลยี
เป็นการคิดคำใหม่ของคำว่า บริษัทมหาชน(ที่ไม่เคยเป็นของมหาชนจริงๆ)
เริ่มคิดว่า cryptocurrency
rattananen Tue, 06/21/2022 - 08:54
เริ่มคิดว่า cryptocurrency กับเพชร นี่มาแนวเดียวกัน (ที่ไม่ใช่ด้านผูกขาด)
สุดท้ายแล้ว blockchain
dheerapat Tue, 06/21/2022 - 09:13
สุดท้ายแล้ว blockchain ก็เป็นแค่ database รูปแบบนึงสำหรับผมเท่านั้น 55555
สายคอมที่เข้าใจเศรษฐศาสตร์มีน
crisis_xiii Tue, 06/21/2022 - 12:15
สายคอมที่เข้าใจเศรษฐศาสตร์มีน้อยครับ บางทีอธิบายไปก็ไม่ค่อยเกทกันเท่าไร
ทุกอย่างมีข้อดีข้อเสีย ไม่ว่าจะเปน centralize หรือ decentralize
แต่คอนเซปมีสิ่งเดียว
เงินเป็นสิ่งที่คนให้มูลค่ากับมัน
เมื่อไรก็ตามที่มันสูญเสียความเชื่อถือ มันก็จะเสียมูลค่าเช่นกัน