ในยุคที่ AI กลายเป็นหัวใจสำคัญของการประมวลผลข้อมูลอย่างรวดเร็วและแม่นยำ ระบบ Edge Computing จึงมีบทบาทสำคัญในการทำให้เทคโนโลยีเหล่านี้ตอบสนองความต้องการขององค์กรต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ IBM ในฐานะผู้นำด้านโซลูชัน AI ระดับองค์กร ได้พัฒนา IBM Power S1012 เซิร์ฟเวอร์ที่ถูกออกแบบมาเพื่องานประมวลผล Edge Computing โดยเฉพาะ เพื่อรองรับการใช้งานในอุตสาหกรรมหลากหลาย เช่น ค้าปลีก ขนส่ง สุขภาพ และการผลิต ในบทความนี้ เราจะพาไปเจาะลึกถึง 6 คุณสมบัติสำคัญของเซิร์ฟเวอร์รุ่นนี้ว่าทำไมมันถึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมสำหรับงาน Edge Computing
หากคุณกำลังมองหาแหล่งจัดเก็บข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือสูงสำหรับข้อมูล Archive ตามข้อกำหนดของธุรกิจ Tape ยังเป็นทางเลือกที่ดีที่ได้รับการพิสูจน์ว่าคุ้มค่ามาเป็นเวลานาน
อนึ่งความร้อนแรงของโปรโตคอล S3 ที่ให้ความยืดหยุ่น สะดวกสบายต่อการใช้งานก็ดูน่าสนใจเช่นกัน จะดีไหมหากเราสามารถผสานข้อดีของ Tape ที่เปิดให้องค์กรควบคุมข้อมูลได้อย่างใกล้ชิด ใช้งานสะดวกสบายผ่านโปรโตคอล S3 และไม่ต้องมีทักษะเพิ่มเติมในการจัดการเทปมากนัก และนี่คือข้อดีของโซลูชัน IBM S3 Deep Archive ที่จะกล่าวถึงต่อไปในบทความนี้
การนำ AI เข้ามาใช้ในองค์กรเผชิญกับความท้าทายหลายด้าน โดยหนึ่งในความท้าทายที่ทำให้โปรเจ็กต์ AI ขององค์กรไม่สามารถไปถึงฝั่งฝันก็คือโครงสร้างพื้นฐานด้านฮาร์ดแวร์ ในบทความนี้เราจะขอพาทุกท่านไปรู้จักกับ IBM Power ในมุมของงาน AI ให้มากขึ้นว่าจะสร้างความแตกต่างได้อย่างไร
ปัจจุบันนี้แทบทุกองค์กรได้มีการนำข้อมูลมาใช้ขับเคลื่อนธุรกิจ โดยจะมีขั้นตอนและกระบวนการในการรวบรวมข้อมูลต่างๆ หรือเรียกว่าการทำ Data Pipelines ก่อนที่จะนำข้อมูลไปใช้งาน แต่ด้วยปริมาณของข้อมูลที่มากขึ้นและการนำข้อมูลไปใช้งานมีความซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ ทำให้บางครั้งการนำเอาข้อมูลไปใช้งานเกิดความผิดพลาดหรือคุณภาพของข้อมูลไม่เพียงพอ เมื่อเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้น สิ่งที่ Developer หรือ Data Engineer จะต้องทำคือการ monitor ข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปัญหาตั้งแต่ข้อมูลปลายทางย้อนกลับไปตามกระบวนการของ Data Pipeline เรื่อยๆ จนกว่าจะเจอต้นเหตุของปัญหา เพื่อแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง ซึ่งทำให้เสียเวลาเป็นอย่างมากและอาจจะทำให้เกิดผลกระทบในนำข้อมูลไปใช้ในการขับเคลื่อนธุรกิจอีกด้วย
Ransomware ยังคงเป็นภัยร้ายที่สร้างความเสียหายให้แก่องค์กรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหลายองค์กรอาจได้มีโอกาสสัมผัสพิษส่งของความเสียหายที่เกิดขึ้นมาบ้างแล้ว ทั้งนี้ทุกท่านย่อมทราบกันดีว่าโซลูชันในการกู้คืนข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญที่สุดต่อการแก้ไขสถานการณ์ แต่คำถามคือท่านจะทราบได้อย่างไรว่าข้อมูลที่กู้คืนกลับมานั้นปลอดภัยดีหรือไม่ เพื่อป้องกันการถูกโจมตีซ้ำในอนาคต จะใช้วิธีการใดเพื่อตรวจสอบและในช่วงเวลาคับขันท่านเองมีเวลามากแค่ไหน ซึ่ง IBM Cyber Vault ได้ถูกออกแบบมาเพื่อป้องกันความโกลาหลดังกล่าว โดยท่านจะได้รู้จักกับโซลูชันนี้เพิ่มขึ้นในบทความนี้
การป้องกันภัยคุกคามไม่ได้ถูกจำกัดเพียงแค่ตัวโซลูชันเพียงอย่างเดียว แต่การป้องกันที่ดียังต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเข้ามาถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กลายเป็น Rule หรือมาตรการบางอย่างเพื่อใช้ป้องกันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งในองค์กรขนาดใหญ่มักจะมีห้องรวมตัวสำหรับเหล่าผู้เชี่ยวชาญที่คอยติดตามภาวะภัยคุกคามที่รู้จักกันในชื่อ Cybersecurity Operation Center (CSOC) โดยมีหน้าที่หลายด้านที่ช่วยบริหารจัดการด้านความมั่นคงปลอดภัยเช่น มอนิเตอร์และตรวจสอบเหตุการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัย ตอบสนองเหตุภัยคุกคาม บริหารจัดการช่องโหว่และภัยคุกคาม แต่ทั้งหมดต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและประสบการณ์จากบุคลากร
บทความนี้จะแนะนำการใช้ IBM Business Automation เพื่อปรับปรุงกระบวนการธุรกิจภายในองค์กร โดยเน้นไปที่ระบบ Business Process Management (BPM) Enterprise Content Management (ECM) และ Case Manager ที่ทำงานผสมผสานกัน โดยเนื้อหาของบทความจะยกตัวอย่างการใช้งานสำหรับกระบวนการขอซื้อและสั่งซื้อ (PR/PO) ในโรงพยาบาลและโรงเรียนแพทย์กับโรงงาน โดยระบบ ERP ขององค์กรอาจจะเป็น SAP หรือ Oracle Financial หรืออื่นๆ ก็ได้
หลายองค์กรเริ่มต้นปี 2023 ด้วยความหวาดหวั่นจากรายงานของสถาบันต่าง ๆ ด้านแนวโน้มภัยคุกคามทางไซเบอร์ ซึ่งได้มีการคาดการณ์ไปในทิศทางเดียวกันว่าสถานการณ์ภัยคุกคามทางไซเบอร์ทั่วโลกจะยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในปีนี้ อ้างอิงจากการรายงานผลสำรวจของ IBM X-Force Threat Intelligence Index 2023 พบว่าในทวีปเอเชียแปซิฟิกครองอันดับหนึ่งในด้านอัตราการเกิดเหตุการณ์การโจมตี โดยคิดเป็น 31% ของเหตุการณ์ภัยคุกคามทั่วโลก และเพิ่มสูงขึ้นถึง 5% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
เปิดใช้งานระบบการป้องกันข้อมูลจาก Ransomware และ Cyber attack ด้วย IBM FlashSystem Safeguarded Copy ได้ฟรี!!! และสร้างความปลอดภัยขั้นสุดด้วยการผนึกกำลังกับ IBM QRadar
เมื่อปีที่แล้วจนกระทั่งเริ่มต้นปีใหม่ปีนี้ก็ยังคงร้อนแรงอย่างต่อเนื่องสำหรับสถานการณ์ภัยคุกคามของโรคระบาด และที่ไม่แพ้กันเลยก็คือภัยคุกคามทางโลก IT ที่นับวันจะยิ่งทวีความซับซ้อนและรุนแรงมากขึ้น ถือว่าเป็นภัยใกล้ตัวที่มีความเสี่ยงสูงมากสำหรับทุกหน่วยงาน ถ้าหากยังไม่มีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสิ่งเหล่านี้ ก็อาจจะสร้างความเสียหายอย่างมหาศาลให้กับหน่วยงานของคุณได้
ปัจจุบันนี้หลายๆ องค์กรได้นำเอาข้อมูลมาใช้ในการขับเคลื่อนธุรกิจ (Data Driven Organization) เพื่อให้การบริหารและการตัดสินใจต่างๆ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดขึ้นในเกือบทุกองค์กรก็คือการที่ไม่สามารถนำข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากมีปัญหาในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่แยกกันอยู่คนละระบบ, ชนิดของข้อมูลที่มีหลากหลายประเภทและความซับซ้อนในการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ ซึ่งจากการวิจัยพบว่ามีข้อมูลถึง 68%¹ ไม่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์หรือใช้งานให้เกิดประโยชน์ และ 82%² ขององค์กรส่วนใหญ่มีการบริหารจัดการและเก็บข้อมูลแยกออกจากกัน แบ่งเป็นระบบใครระบบมัน หากมีความต้องการที่จะดึงข้อมูลจากระบบอื่นมาใช้งานก็จะเกิดปัญหาในการเข้าถึงข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น ในระบบขอ
แอปพลิเคชันรูปแบบใหม่ๆ หรือ Cloud native application มักมีองค์ประกอบหลากหลายส่วนทำงานด้วยกัน ทำให้ยากที่จะทราบว่าในส่วนของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ พื้นที่จัดเก็บข้อมูล หรือเครือข่ายเน็ตเวิร์กเหล่านั้นทำงานสนับสนุนแอปพลิเคชันใดอยู่บ้าง วิธีดั้งเดิมในการคาดการณ์ความต้องการของทรัพยากรเหล่านั้น คือการดูจากประวัติการใช้งานย้อนหลัง และตั้งค่าเผื่อไว้เพียงครั้งเดียว หรือที่เรียกว่า “set it and forget it” วิธีดังกล่าวอาจทำให้มีการจัดสรรทรัพยากรที่มากเกินไป ที่แย่กว่านั้นคือแอปพลิเคชันอาจหยุดการทำงานระหว่างการใช้งานที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากมีทรัพยากรไม่เพียงพอ
Leverage modernization technology to drive the business growth
โลกดิจิทัลกำลังพลิกโฉมรูปแบบธุรกิจ ทางองค์กรจึงต้องคิดใหม่ ทำใหม่ เกี่ยวกับการบริการลูกค้าและประสบการณ์ (Customer Experience) โดยใช้ข้อมูลเป็นตัวเร่งให้เกิดนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง โดยสถาปัตยกรรมข้อมูลเดิม (Legacy architecture) อาจจะไม่สามารถตอบสนองความต้องการด้านความเร็ว ความยืดหยุ่น และนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและในอนาคตได้
ทาง IBM มีการเปิดตัวเครื่องเซิร์ฟเวอร์รุ่นใหม่อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 9 เดือน 9 ที่ผ่านมา ซึ่งทาง IBM ยังคงนำเสนอเครื่องในตระกูล Power Systems อันทรงพลังเช่นเดิม แต่ออกแบบและพัฒนาต่อยอดไปอีกขั้นโดยเปิดตัวซีพียูประมวลผลรุ่นล่าสุด Power10 ที่ผลิตบนมาตรฐานการผลิตชิปเซ็ตสถาปัตยกรรมสมัยใหม่แบบ 7 nm ทำให้ประสิทธิภาพและความสามารถในการประมวลผลเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก ช่วยให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์รุ่นใหม่นี้ทำงานได้ดีขึ้นแต่ใช้พลังงานต่ำลง แน่นอนว่าผู้ใช้ระดับองค์กรได้ประโยชน์จากการเปลี่ยนระบบไปใช้เครื่อง Power10 เต็ม ๆ นั่นคือ การทำงานของแอปพลิเคชันหรือระบบงานเดิมทำงานได้เร็วขึ้น หรือรองรับจำนวนลูกค้าที่เพิ่มขึ้น หรือระบบโดยรวมมีเสถียรภาพสูงขึ้น ลดปัญหา Downtime ที่ไม่ได้วางแผนล่วงหน้าของระบบได้เป็นอย่
ในปัจจุบัน การป้องกัน Ransomware ด้วยการเสริมการใช้งานของ EDR นั้น เป็นการทำงานในรูปแบบ Detection and Response ซึ่งจำเป็นต้องให้มัลแวร์ที่เข้ามาโจมตี ได้เริ่มออกคำสั่งไปก่อน แล้วค่อยตามไปดูความผิดปกติ หรือพฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ประสงค์ การทำงานแบบนี้ เรียกว่า Post-Execution Prevention และสร้างความเสี่ยงให้กับระบบได้ จากที่เห็นมาใน Ransomware campaign หลาย ๆ ครั้ง
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เลือกใช้งานระบบโครงสร้างพื้นฐานไอทีจากไอบีเอ็ม โดยคอมพิวเตอร์ยูเนี่ยนพาร์ตเนอร์ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ติดตั้งระบบ ชูจุดเด่นสร้างวิศวกรปัญญาประดิษฐ์ที่พร้อมทำงานได้จริง
เริ่มต้นการเป็นมืออาชีพในการดำเนินธุรกิจอย่างชาญฉลาด ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์หรือ AI ให้มาเป็นผู้ช่วยที่ไว้วางใจได้ มีความถูกต้องแม่นยำสูง ลดความผิดพลาด และพร้อมจะเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการทำงานให้ดีขึ้นอยู่เสมอ ตอบสนองการดำเนินธุรกิจแบบก้าวกระโดด
Ransomware ฝันร้ายที่อาจเกิดขึ้นสำหรับผู้ดูแลระบบไอทีที่ไม่ได้เตรียมตัวไว้
ไม่ว่าจะป้องกันอย่างไรก็มีความเสี่ยงที่แฮกเกอร์สามารถโจมตีตามช่องโหว่ต่างๆ ได้ ดังนั้นคุณต้องมีการสำรองข้อมูลไว้ในที่ปลอดภัยหรือ private zone ซึ่งยูสเซอร์ แอปพลิเคชั่นและระบบปฏิบัติการไม่สามารถเข้าถึงได้โดยตรง และมีแผนการกู้คืนที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว เพื่อนำข้อมูลซึ่งปราศจาก ransomware มาใช้งาน
ลูกค้าองค์กรแต่ละที่มีการเก็บข้อมูลที่แตกต่างกัน ใช้แอปพลิเคชั่นที่แตกต่างกัน ทำให้ต้องการสตอเรจที่แตกต่างกันในเรื่องความเร็ว ขนาดข้อมูล การเชื่อมต่อกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ฟีชเจอร์ฟังก์ชั่นและความทนทาน